ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

Hits:1324

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...

อ่านต่อ ...

NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…

Hits:861

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...

อ่านต่อ ...

17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”

Hits:566

จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...

อ่านต่อ ...

กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”

Hits:1592

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...

อ่านต่อ ...

ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…

Hits:1509

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:4597

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:3781

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:2711

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:2202

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:9330

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:21795

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:15108

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:15645

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:17123

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4772

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4749

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:4473

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่

Hits:560

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...

อ่านต่อ ...

12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…

Hits:719

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...

อ่านต่อ ...

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…

Hits:2391

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...

อ่านต่อ ...

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…

Hits:520

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

About SEA-ROAD

  1. Establishment of SEA-ROAD

The SEA-ROAD was one of two OAD regional nodes formally established during the IAU General Assembly in Beijing in August 2012, and was assigned to the National Astronomical Research Institute of Thailand (NARIT), in Chiang Mai.  Working closely with other 9 offices and language centres throughout the world, SEA-ROAD is committed to the development of astronomy in ASEAN nations, namely:

  • Union of Myanmar
  • Thailand
  • Lao People’s Democratic Republic
  • Kingdom of Cambodia
  • Socialist Republic of Vietnam
  • Malaysia
  • Republic of Singapore
  • State of Brunei Darussalam
  • Philippines
  • Republic of Indonesia.

In line with IAU policy, and in conjunction with the OAD, the SEA-ROAD is responsible for over-viewing and assisting in the development of the following areas of astronomical activity in these ten Southeast Asian nations:

  1. University research and teaching (both undergraduate and graduate) in astronomy.
  2. Teaching of astronomy in schools.
  3. The training of teachers in astronomy.
  4. Increasing astronomy awareness among the general public.
  1. Host Institute

The National Astronomical Research Institute of Thailand was established by Parliament in 2005 in order to use astronomy as a vehicle to promote science and technology at universities, and among school children and the general public. 

The NARIT headquarters are located in Thailand?s second-largest city, Chiang Mai, in northern Thailand, where there are close links with the astronomers at Chiang Mai University.

The Institute maintains the 2.4-m Thai National Telescope, which is located near Chiang Mai close to the summit of Doi Inthanon, Thailand?s highest mountain.  This telescope offers Thai and overseas astronomers facilities with which to carry out cutting edge astronomical research.  The NARIT staff include a number of Thai and overseas research astronomers who work in a range of different fields of astronomy.

In order to promote astronomy in schools and among the public NARIT has a large education and outreach section, and is in the process of establishing a network of five regional astronomy education centres throughout Thailand.

NARIT also maintains a watching brief over the national development of astronomy in Thailand, with radio astronomy flagged as one of the growth areas in the future.

  1. Volunteers

The greatest resource that will enable the OAD and SEA-ROAD to achieve the vision of Astronomy for a Better World is volunteers.  Whether these come in the form of professionals, amateurs, educators, students or members of the public, any form of assistance from anyone anywhere in the world will be appreciated. If you are interested

  1. Partners

The SEA-ROAD is always open to partnerships with other organisations wishing to be proactive in the development of astronomy.  Remember, the whole is always greater than the sum of the component parts!

In Thailand, for example, NARIT is already working in close collaboration with various universities, and at an international level it has Memoranda of Understanding with various observatories and universities, all of which directly benefit the SEA-ROAD.  Further networking and partnerships are envisaged.

If your organisation would like to partner with the SEA-ROAD please contact us.

Funding Opportunities

  1. IAU Funding

Annual Call for Proposals

The IAU has always funded several projects related to astronomy-for-development activities.  In the era of the OAD and in implementing the Strategic Plan, the IAU now allocates these funds via the Task Forces.  This ensures a more strategic approach to using astronomy for development with input from experienced international experts.  The funding cycle is an annual one with funding allocations announced in December for the next calendar year in each of the three respective sectors (universities and research, children and schools, and public outreach).  Funds have been provisionally allocated to the Task Forces for the 2018 Call for Proposals but final amounts provided to each Task Force will be determined by the IAU Extended Development Oversight Committee (EDOC) and depend on the quality and relevance of the proposals received.

Although the spirit of the OAD is to be as flexible and unbureaucratic as possible in order to ensure maximum benefit from the funds available, it is still important for proposers to provide the detail requested by the dates indicated in order for proposals to be assessed fairly and in a timely way.  Projects which are not funded directly by the IAU but which are still ranked highly by the task forces go onto a wish list for which the OAD continues to search for funds throughout the year.

Please view the 2018 Call for Proposals by clicking on the link below:

Call for Proposals 2018

However, please note that the deadline has now passed and proposals have been officially endorsed. The next call will be early 2019.

  1. IAU Task forces

The International Astronomical Union (IAU), through its Office of Astronomy for Development (OAD), has established the three Task Forces which will drive global activities using astronomy as a tool to stimulate development.  These Task Forces are: (i) Astronomy for Universities and Research; (ii) Astronomy for Children and Schools; and (iii) Astronomy for the Public.

The Task Forces are made of groups of experts in their field who give their time voluntarily to advise on and coordinate projects in the respective targeted areas of development.  They are selected, as far as possible, on the basis of their skills, prior knowledge, experience, geographic locations and cultural diversity.  After a lengthy nomination and selection process, approved by the Development Oversight Committee of the IAU, we are pleased to announce the names of the members of the three Task Forces.  These individuals, together with the many passionate volunteers they will work with, will contribute to the vision of Astronomy for a Better World!

Task Force 1: Universities and Research

Current Members

  • Nicole van der Bliek (Chile/Netherlands)
  • Stella Kafka (USA)
  • Jean-Pierre de Greve (Belgium)
  • Michele Gerbaldi (Co-Chair – France)
  • Richard de Grijs (China)
  • Edward Guinan (Co-Chair – USA)
  • Roger Hajjar (Lebanon)
  • Edward Jurua (Uganda)
  • Hakim Malasan (Indonesia)

10Shengbang Qian (China)

11 Ravi Sheth (ICTP/Italy)

Task Force 2: Children and Schools

Current Members

  • Jen Gupta (UK)
  • Edward Gomez (Co-chair – UK)
  • Robert Hollow (Australia)
  • Ofodum Chukwujekwu Nworah (Nigeria)
  • Amelia Ortiz-Gil (Co-chair – Spain)
  • Tsolmon Renchin (Mongolia)
  • Lina Canas (OAO/Japan)
  • Linda Strubbe (Canada/USA)

9 Akihiko Tomita (Japan)

Task Force 3: Public Outreach

Current Members

  • Megan Argo (Commission 55/UK)
  • Sze-leung Cheung (OAO/HK)
  • Thilina Heenatigala (Sri Lanka)
  • Brooke Simmons (UK)
  • Carolina Odman (Co-Chair – South Africa/EU)
  • German Puerta (Colombia)
  • Kumiko S. Usuda (Co-chair – Japan/USA)
  • Kimberly Arcand (US)

Projects and Activities in 2019

 

Related Information and Networking

  1. ITCA
  2. SEAAN
  3. SEAYAC

Contact Us

For further information, please email Mr. Setthawut  Thongmee (setthThis email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.)

Mr. Setthawut Thongmee

National Astronomical Research Institute of Thailand

260 M.4, Donkaew,

Mae Rim, Chiang Mai 50180

Thailand. Tel: 053 121268-9

Who runs ITCA ?

ITCA is run by the National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization) or NARIT and situated right in Princess Sirindhorn AstroPark, the headquarters of NARIT in the beautiful city in the North of Thailand – Chiang Mai where Thai National Observatory and the soon-to-be-completed Thai National Radio Observatory are located.

Who can join ITCA ?

We tailor our programmes to suit a wide range of audiences, ranging from students from primary schools to high schools. University students and graduate students are also our main targets. Abundant schools and trainings are tailor-made for early-career researchers or even for those who are experienced and still in need of sources of inspiration from a pool of knowledge garnered by our homegrown and allied world-renowned figures in different fields. 

What does ITCA do ?

ITCA’s main tasks shall revolve around schools, trainings, workshops, etc., that emerge out of the concept “Astronomy for All” – from astronomy for the very young age to early-career astronomers or even astronomy for science teachers that seek the platform of tailored astronomy education. At ITCA, we have experienced researchers and educators in different fields together with state-of the-art facilities on offer. With ITCA’s strong alliance with other astronomical institutes around the world, we can assure that our training programmes are streamlined to corresoind the needs of current and updated trends in astronomy and related sciences. 

What is ITCA ?

With the keen interest of the Royal Thai Government in developing astronomy education in Thailand and beyond, coupled with recent endorsement of International Training Centre in Astronomy under the auspices of UNESCO (ITCA) in 2015 during the 38th UNESCO General Conference in Paris, ITCA shall be a mechanism that accentuates the collaborative efforts between Thailand and the world in Science, Technology and Innovation which are imperative to meet the UN Sustainable Development Goals.

ITCA is the centre that aims to garner and incubate the knowledge of astronomy and related sciences with strong commitment in building a better world with the use of astronomy as a tool for Technology Transfer and Capacity Building – the elements that define the excellence of ITCA

ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

        สดร. มีเครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็งทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีการประสานความร่วมมือกันทั้ง ทางด้านการวิจัย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์ความรู้/ข้อมูลต่างๆ การแลกเปลี่ยนบุคลากรระหว่าง สดร. กับ หน่วยงานเครือข่าย นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการใช้งานโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาสตร์ของ สดร. เพื่อทาวิจัยของ นักศึกษาในสถาบันการศึกษา โดยมีนักวิจัยของสดร. ร่วมเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รวมถึงการจัดการ ฝึกอบรม สัมมนา หรือกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง


 เครือข่ายและความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกสถาบัน

ปัจจุบัน สดร. มีเครือข่ายความร่วมมือรวมทั้งสิ้น 56 หน่วยงาน จำแนกเป็น เครือข่ายดาราศาสตร์ ระดับชาติ จำนวน 22 หน่วยงาน และเครือข่ายดาราศาสตร์ระดับนานาชาติ จานวน 34 หน่วยงาน ดังนี้

1) เครือข่ายดาราศาสตร์ระดับชาติ ( 22 หน่วยงาน )

        สดร. มีเครือข่ายความร่วมมือทางด้านดาราศาสตร์ และมีการลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ อย่างเป็นทางการ กับสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานต่างๆ ภายในประเทศ เพื่อดำเนินกิจกรรมทางด้านวิจัย พัฒนา และวิชาการร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วย

  • มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ มหาวิทยาลัยพะเยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏ ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

  • หน่วยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดาริ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (สสวท.) สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) สมาคมดาราศาสตร์และ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ศอ.พว.) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ องค์กรสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ สถาบันไทย - เยอรมัน

2) เครือข่ายดาราศาสตร์ระดับนานาชาติ ( 34 หน่วยงาน 18 ประเทศ )

Screen Shot 2562 12 06 at 15.15.47

        ในปีงบประมาณ 2562 สถาบันฯ ได้สร้างความร่วมมือทางวิชาการด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง กับหน่วยงาน ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ มีการสานต่อความร่วมมือที่เกิดมาก่อนหน้าให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม อาทิเช่น

  • Instituto Geografico Nacional (Spain) ในการสร้างเครื่องรับสัญญาณแบบ Ku-band holography เพื่อใช้ทดสอบ Surface accuracy ของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ

  • Max Planck Institute for Radio Astronomy (Germany) ในการสร้างเครื่องรับสัญญาณวิทยุ ในช่วง คลื่น L-band และ K-band

  • Jodrell Bank Center for Astrophysics, University of Manchester (UK) ในการสร้าง Universal backend ซึ่งจะใช้ GPU เป็นตัวประมวลผลแทนแบบเดิม

  • Korea Astronomy and Space Science Institute (Korea) ในการฝึกวิศวกรของ สดร. เพื่อสร้าง เครื่องรับสัญญาณความถี่สูงในอนาคต

  • National Astronomical Observatory of Japan (Japan) ในการเตรียมการเข้าร่วมกับเครือข่าย VLBI ต่างๆ และเตรียมการออกแบบและสร้างเครื่องรับสัญญาณวิทยุในช่วงคลื่น C-band

  • Institut d’Optique Graduate School (France) ในการพัฒนาเครื่องมือขั้นสูงต่างๆ ทางด้าน ทัศนศาสตร์

  • Polar Research Institute of China, Chinese Academy of Sciences (China) ในการวิจัยเรื่อง ดาราศาสตร์ที่ขั้วโลกใต้ ซึ่งเป็นพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

  • Yunnan Observatories, Chinese Academy of Sciences (China) ในการวิจัยฟิสิกดาราศาสตร์ หลายโครงการ รวมถึงการติดตั้งใช้งานกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7 เมตร ที่หอดูดาว เกาเหมยกู่

  • University of North Carolina at Chapel Hill (USA) ในการติดตั้งและใช้งานกล้องโทรทรรศน์ PROMPT8 ที่ Cerro Tololo Inter-American Observatory

  • Centre for Astrophysics and Space Science (CASS), CSIRO (Australia) ในความร่วมมือด้าน ดาราศาสตร์วิทยุ

  • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ในการอบรมครูด้านดาราศาสตร์

 

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024  ETDA Banner 2567 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023

 

event banner 

    virtualtour