ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

Hits:1393

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...

อ่านต่อ ...

NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…

Hits:939

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...

อ่านต่อ ...

17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”

Hits:643

จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...

อ่านต่อ ...

กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”

Hits:1657

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...

อ่านต่อ ...

ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…

Hits:1584

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:4690

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:3885

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:2798

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:2270

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:9412

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:21882

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:15234

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:15726

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:17194

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4834

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4820

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:4567

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่

Hits:628

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...

อ่านต่อ ...

12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…

Hits:781

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...

อ่านต่อ ...

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…

Hits:2496

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...

อ่านต่อ ...

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…

Hits:590

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

โครงการพิเศษ

โครงการรณรงค์ลดความสว่างของท้องฟ้าเพื่อลดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม

       สถาบันฯ ได้ผลักดันให้มีความร่วมมือกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) ในการศึกษาการลดผลกระทบ ของมลภาวะทางแสงที่มีต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ มีการลงนามในบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ ระหว่าง สดร. กฟผ. มูลนิธิโครงการหลวง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2560 และต่อมา สดร. ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก กฟผ. ในการดาเนินโครงการดังกล่าวเป็นเวลา 2 ปี ในวงเงิน 25 ล้านบาท โครงการนี้จะสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน 2562 ปัจจุบัน มีความก้าวหน้าไปมากได้ทา การติดตั้งโคมไฟแทนที่แบบเดิมที่เกษตรกรใช้ในการปลูกดอกเบญจมาศไปทั้งสิ้น 70,000 โคม มีผลให้ความ สว่างของท้องฟ้าในเวลากลางคืนที่ บริเวณหมู่บ้านขุนกลางลดลงอย่างมีนัยสาคัญ สามารถเห็นได้ชัดเจนจาก ค่าที่ สดร. วัดได้ และจากข้อมูลความสว่างของท้องฟ้าจากดาวเทียม นอกจากนี้ ยังมีผลให้ลดการใช้พลังงาน ไฟฟ้าในบรเิ วณหมู่บ้านขุนกลางมากกว่า ปีละ 2 ล้านบาท

        สดร. ยังได้ตกลงร่วมกันกับกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ที่จะดาเนินการให้อุทยานแห่ง ชาติกว่า 130 แห่งทั่วประเทศ เป็นอุทยานที่มีการควบคุมการใช้แสงสว่างในเวลากลางคืน เพื่อลดผลกระทบที่ เกิด ขนึ้ กับสิ่งแวดล้อมในบริเวณอุทยาน รวมถึงผลักดันให้อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย ได้รับการรับรอง จาก International Dark Sky Association (IDA) ให้เป็น Dark Sky Park หรือ Dark Sky Reserve Area อีก ด้วย

Screen Shot 2562 12 09 at 11.35.17

โครงการศึกษาวิจัยดาราศาสตร์ขั้วโลก ( Latitude Survey )

        เป็นโครงการความร่วมมือเพื่อศึกษาวิจัยด้านดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์บรรยากาศ ณ บริเวณ ขั้วโลก ร่วมกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เนื่องจากบริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมในการสังเกตการณ์ทาง ดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์บรรยากาศ ที่ต้องการเวลาสังเกตการณ์ยาวนานและต่อเนื่อง ซึ่งความร่วมมือ ดังกล่าวจะช่วยพัฒนาองค์ความรู้และบุคลากรของประเทศไทยให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ ความร่วมมือดังกล่าวครอบคลุมการวิจัยเกี่ยวกับ Marine Biology, Oceanography, Atmospheric Science และ Astronomy Geophysics และ Geochemistry

Screen Shot 2562 12 09 at 11.31.21

        สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ส่งข้อเสนอโครงการวิจัยการสารวจ ตัดข้ามละติจูด (Latitude Survey Project) ต่อสถาบันวิจัยขั้วโลกของจีน (PRIC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลกระทบของรังสีคอสมิกต่อโลก โดยการนาเครื่องตรวจวัดนิวตรอนบรรทุกบนเรือสารวจวิจัยเพื่อเก็บข้อมูลตาม เส้นทางเดินเรือจากประเทศจีนไปยังทวีปแอนตาร์กติกา และได้รับการอนุมัติจากสถาบันวิจัยขั้วโลกของจีน ให้ สามารถนาอุปกรณ์ที่ติดตั้งเครื่องตรวจวัดนิวตรอนภายในคอนเทนเนอร์ฉนวนที่ได้รับการพัฒนาโดยนักวิจัยไทย ภายใต้ความร่วมมือของสถาบันในประเทศไทย อาทิเช่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน), มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันในต่างประเทศ เช่น University of Delaware และ University of Wisconsin-River Falls ประเทศสหรัฐอเมริกา, Shinshu University ประเทศญี่ปุ่น เดินทางไปพร้อมกับเรือ สารวจวิจัย Xue Long ออกเดินทางจากเมืองเซี่ยงไฮ้ สาธาณรัฐประชาชนจีน ไปยังสถานีวิจัย Zhongshan ซึ่ง ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งของทวีปแอนตาร์กติกา ขั้วโลกใต้

โครงการภาคีความร่วมมือพัฒนาความสามารถเทคโนโลยีอวกาศไทย

        สดร. ได้ริเริ่มและผลักดันให้เกิดความร่วมมือที่สาคัญของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) - สดร. สานักงานเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - สทอภ. และสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) - สซ. ในการพัฒนาดาวเทียมขนาดเล็ก เพื่อใช้ใน การวิจัย ดาวเทียมดังกล่าว จะออกแบบและสร้างโดยทีมวิศวกรและ บุคลากรของ 3 หน่วยงาน เป็นการสร้าง ประสบการณ์ในการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงในประเทศไทย และในอนาคต จะเป็นพื้นฐานให้เกิดอุตสาหกรรม อวกาศ (Space Industry) ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงที่สุดอย่างหนึ่ง ของโลก

Screen Shot 2562 12 09 at 11.12.46

        ในเดือนธันวาคม 2561 ผสดร. ได้รับเชิญจาก Changchun Institute of Optics, Fine Mechanics and Physics (CIOMP) สาธารณรัฐประชาชนจีน ให้ไปเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการทางด้านทัศนศาสตร์ และการพัฒนาดาว เทียมขนาดเล็ก มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือที่จะพัฒนาดาวเทียมขนาดเล็ก TSC-0 หรือ TSC Pathfinder จะติดตั้งกล้องถ่ายภาพพื้นพิภพได้ในความละเอียด 2 เมตร โครงการนี้คาดว่าจะเริ่มดาเนินการได้ในปี 2563 และสามารถส่งขึ้นสู่อวกาศได้ในปี 2565 นับเป็นโครงการนาร่อง เพื่อสร้างขีดความสามารถของวิศวกรและ ช่างเทคนิคไทย เพื่อเตรียมการออกแบบดาวเทียมของไทยเองต่อไปในอนาคต

        สืบเนื่องจากนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและ นวัตกรรม ที่จะขยายความร่วมมือไปยังสถาบันอุดมศึกษา มีผลทาให้โครงการ Thai Space Consortium มีงบประมาณรวมเกิน 1,000 ล้านบาท จึงจาเป็นต้องมีการจัดทา Feasibility Study ซึ่งขณะนี้ สทอภ. กาลังอยู่ ในระหว่างการดาเนินการดังกล่าว อย่างไรก็ตาม สดร. ไดเ้ ริ่มดาเนินการออกแบบระบบทัศนศาสตร์ของดาวเทียม TSC-1 แล้ว แม้ว่าการทา Mission Analysis ของดาวเทียมดวงแรกยังไม่เสร็จสิ้นกระบวนการ และเนื่องจาก สดร. มีความร่วมมือกับ CIOMP ในการ ออกแบบและสร้างดาวเทียม TSC-0 จึงมีความเป็นไปได้ที่ Payload บน ดาวเทียม TSC-1 จะถูกปรับให้เป็น Hyperspectral Telescope ซึ่งในปัจจุบัน ยังไม่มีดาวเทียมของไทยที่มีขีด ความสามารถในระดับนี้

การเข้าร่วมโครงการขนาดใหญ่ (Large Infrastructure) กับหน่วยงานภายนอกทั้งภายในและต่างประเทศ

images 1

        โครงการ CTA เป็นโครงการมูลค่า 400 ล้านยูโร เกิดจากความร่วมมือของ 25 ประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา High Energy Astroparticles โครงการนี้จะทำการติดตั้งหมู่ กล้องโทรทรรศน์รังสีเชอเรนคอฟ ทั้งในซีกโลก เหนือ ที่เกาะลาปาลมา (La Palma) ประเทศ สเปน และในซีกโลกใต้ ที่เซอร์โรพารานาล (Cerro Paranal) ประเทศชิลี การเข้าร่วมโครง การขนาดใหญ่นี้ของประเทศไทยจะเปิดโอกาส ให้บุคลากรของประเทศในระดับต่างๆ ได้พัฒนา

images

        ศักยภาพและสามารถทาการศึกษาวิจัยวิทยาศาสตร์ในระดับแนวหน้า (Frontier Science) ให้เท่าเทียมกับ ประเทศที่มีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ทีมวิศวกรจะได้มีโอกาสพัฒนาเทคโนโลยี ที่ยังไม่เคยมีในประเทศไทย ทั้งนี้ สดร. ได้เสนอการพัฒนาเครื่องเคลือบกระจกสะท้อนแสงของกล้องโทรทรรศน์ตามมาตรฐานที่โครงการ CTA จำเป็นต้องใช้ ในรูปแบบของ In Kind Contribution (IKC) เนื่องจาก สดร. ได้ทำการพัฒนาเครื่องเคลือบ กระจกแบบสปัตเตอริง (Sputtering) ร่วมกับสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (สซ.) เพื่อใช้เคลือบกระจกสะท้อนแสง ของกล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวแห่งชาติ

        ผลการดำเนินงานในปี 2562 สดร. ร่วมกับ สซ. ได้ทำการออกแแบบเครื่องเคลือบกระจกโดยแบ่งออกเป็น สองส่วน ได้แก่ ส่วนที่ใช้ทำความสะอาดกระจกแบบโรโบติก และห้องเคลือบสปัตเตอริงแบบสายพาน ซึ่งระบบนี้จะ ช่วยให้การเคลือบทาได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากกระจกสะท้อนแสงของหมู่กล้องโทรทรรศน์รังสีเชอเรนคอฟ มีรวมกัน มากกว่า 6000 ชิ้น การพัฒนาเครื่องเคลือบนี้ คาดว่าจะเสร็จสิ้นและเริ่มใช้งานได้ ตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นไป

Screen Shot 2562 12 09 at 10.21.14

การให้บริการวิชาการภายใต้การดาเนินงานร่วมกับ Southeast Asia - Regional Office of Astronomy for Development (SEA-ROAD) ภายใต้ International Astronomical Union (IAU)

        สดร. ได้รับเลือกจากสานักงานเพื่อการพัฒนาดาราศาสตร์ (Office for Astronomy Development- OAD) ภายใต้การกากับของสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union- IAU) ให้เป็น เจ้าภาพศูนย์ประสานงานภูมิภาคเพื่อการพัฒนาดาราศาสตร์ภายใต้สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU Regional Office for Astronomy Development: ROAD) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สดร. ได้จัดกิจกรรมเพื่อการ พัฒนาดาราศาสตร์ในภูมิภาคฯ อันนามาซ่ึงความตระหนักด้านดาราศาสตร์ของประชาชนในประชาคมอาเซียน ได้แก่ การประชุม/สัมมนาเพื่อสนับสนุนการวิจัย และสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต

Screen Shot 2562 12 09 at 10.06.13

ทั้งนี้ ระหว่างเดือน ต.ค. 2561 – ก.ย. 2562 มีจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 420 คน จากเป้าหมาย 400 คน จาก 3 กิจกรรม ดังนี้

  • The 10th Southeast Asia Astronomy Network (SEAAN 2018) - Lampung, Indonesia

  • NARIT-RUPP Human Capacity Training in Astronomy for Development 2018 - Phnom

    Penh, Cambodia

  • Astronomy and Basic Stargazing Workshop, Vientiane, Laos

การให้บริการวิชาการภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ฝึกอบรมดาราศาสตร์นานาชาติภายใต้ยูเนสโก ( International Training Centre in Astronomy under the auspices of UNESCO – ITCA )

Screen Shot 2562 12 06 at 16.01.34

        ในเดือนพฤศจิกายน 2558 สดร. ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการที่ประชุมสมัยสามัญยูเนสโกครั้งที่ 38 ณ สานักงานใหญ่ยูเนสโก กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส ให้เป็นศูนย์อบรมดาราศาสตร์นานาชาติ ทั้งนี้ได้มีการ ลงนาม บันทึกข้อตกลงความเข้าใจระหว่าง สดร. กับ UNESCO ในเดือนสิงหาคม 2560

78435668 1016073615393429 3457269624683364352 n

ที่ผ่านมา ได้จัดการอบรมดาราศาสตร์ให้แก่นักวิจัยรุ่นใหม่ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา และบุคคลที่ สนใจในระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง และในวันที่ 4 กรกฎาคม 2562 รองผู้อานวยการทั่วไปขององค์การยูเนสโก Mr Qing Xue ได้เดินทางมาเยี่ยมชมการดาเนินงานของ ITCA และเป็นประธานพิธีเปิดศูนย์ฝึกอบรมดาราศาสตร์ นานาชาติภายใต้ยูเนสโกอย่างเป็นทางการ

ในปีงบประมาณ 2562 การดาเนินงานของ ITCA มีจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้น 750 คน มีจานวน กิจกรรม ทั้งสิ้น 14 กิจกรรม ดังนี้

- Thailand-UK Python+Astronomy Summer School 2018
- The 7th International VLBI Technology Workshop
- Probing Relativistic Gravity in the SKA Era workshop
- Second Asia SKA Initiative On Neutron Star (ASIONS) meeting
- Adaptive Optics Workshop : From the eye to the sky
- NARIT International Astronomical Training Workshop 2019
- Network for Astronomy School Education Workshop 2019
- The 2nd NARIT-STFC Summer School in Radio Astronomy
- NARIT-IAU100 Inspiring Stars Workshop
- SINO-THAI Astronomy Youth Camp 2019
- The Inauguration of ITCA
- NARIT-EACOA Summer Workshop on Astrostatistics and Astroinformatics 2019
- GCRF Big Data and Digital Technology Workshop

- ITCA Colloquium 2019: Big Data for Southeast Asian Development

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024  ETDA Banner 2567 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023

 

event banner 

    virtualtour