8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี
Hits:1324
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...
อ่านต่อ ...NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…
Hits:861
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...
อ่านต่อ ...17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”
Hits:566
จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...
อ่านต่อ ...กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”
Hits:1592
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...
อ่านต่อ ...ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…
Hits:1509
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...
อ่านต่อ ...นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…
Hits:4597
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...
อ่านต่อ ...- บทความดาราศาสตร์
- บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
- จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
- จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
- Download
การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…
Hits:3781
เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...
อ่านต่อ ...โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์
Hits:2711
องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...
อ่านต่อ ...วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย
Hits:2202
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...
อ่านต่อ ...ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป
Hits:9330
[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...
อ่านต่อ ...27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี
Hits:21795
ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...
อ่านต่อ ...ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก
Hits:15108
ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...
อ่านต่อ ...แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563
Hits:15645
ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...
อ่านต่อ ...คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์
Hits:17123
ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...
อ่านต่อ ...จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
Hits:4772
ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series
บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น
จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
Hits:4749
ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)
NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ
สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight มีเนื้อหา 6 ตอน ได้แก่
หนังสือ
Hits:4473
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์ ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก
ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต
ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม
ในปี 2563 “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้
ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้
- ข่าวประชาสัมพันธ์
- ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
- ข่าวรับสมัครงาน
- รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
- NARIT INTERNSHIP PROGRAM
- รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
- ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
- ข่าว อว
12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่
Hits:560
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...
อ่านต่อ ...12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…
Hits:719
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...
อ่านต่อ ...ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…
Hits:2391
ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...
อ่านต่อ ...การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…
Hits:520
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อ่านต่อ ...ประกาศ เรื่อง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา ซื้อสื่อการเรียนรู้สำหรับกิจกรรมทางดาราศาสตร์ จำนวน 2 รายการ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง
Hits:6
...
อ่านต่อ ...ประกาศ เรื่อง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างเหมาบริการติดตั้งฟิล์มกรองแสง จำนวน 1 งาน โดยวิธีเฉพาะเจาะจง
Hits:7
...
อ่านต่อ ...ประกาศผู้ผ่านการคัดเลือกลูกจ้างโครงการ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรบุคคล จำนวน 1 อัตรา
Hits:66
...
อ่านต่อ ...ประกาศผู้ผ่านการคัดเลือกเจ้าหน้าที่ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่เทคนิคสารสนเทศ จำนวน 1 อัตรา
Hits:55
...
อ่านต่อ ...NARU
ปฏิทินดิถีเพ็ญ ฉบับ สดร.
ยุทธศาสตร์
จากแรกเริ่มสู่ปัจจุบัน
จากแรกเริ่มสู่ปัจจุบัน
ภาพเปรียบเทียบพื้นที่ในอดีตและปัจจุบัน ณ บริเวณอุทยานดาราศาสตร์สิรินธร โดยภาพในอดีตถ่ายไว้เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เมื่อ 11 ปีที่แล้ว คณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ รศ.บุญรักษา สุนทรธรรม ผู้อำนวยการ พร้อมเจ้าหน้าที่ สดร. เข้าสำรวจพื้นที่ก่อนที่สถาบันฯ จะได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารฯ จนกลายมาเป็นอุทยานดาราศาสตร์สิรินธร ที่เห็นกันในทุกวันนี้
2552
ปัจจุบัน
แนะนำจดหมายเหตุ
หอจดหมายเหตุภายในประเทศ
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ :
https://virtualarchives.nat.go.th/
นิทรรศการเสมือนจริง :
https://virtualarchives.nat.go.th/tour/
หอจดหมายเหตุ ธนาคารแห่งประเทศไทย :
https://www.botlc.or.th/archives
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ :
คลังจดหมายเหตุดิจิทัล สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ :
https://archives.museumsiam.org/
ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา :
https://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/index.php
หอจดหมายเหตุต่างประเทศ
หอจดหมายเหตุแห่งชาติจีน :
http://www.shac.net.cn/shac_en/sy_135/
หอจดหมายเหตุแห่งชาติญี่ปุ่น :
http://www.archives.go.jp/english/
หอจดหมายเหตุแห่งชาติสิงคโปร์ :
http://www.nas.gov.sg/
หอจดหมายเหตุแห่งชาติเกาหลี :
http://www.archives.go.kr/english/index.jsp
หอจดหมายเหตุแห่งชาติไต้หวัน :
https://www.archives.gov.tw/english/
หอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา:
https://www.archives.gov/
หอจดหมายเหตุแห่งชาติอังกฤษ:
http://www.nationalarchives.gov.uk/
องค์กรจดหมายเหตุระหว่างประเทศ
สภาจดหมายเหตุระหว่างประเทศ:
https://www.ica.org/en
เกี่ยวกับเรา
ความเป็นมาของหอจดหมายเหตุ
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 เป็นองค์กรภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) ต่อมามีมติ ครม. เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2562 ให้ควบรวมกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เข้าไว้ในกระทรวงเดียวกัน เพื่อให้สามารถกำหนดทิศทางด้านการวิจัยและเกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกัน โดยใช้ชื่อว่า กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
สถาบันมีวัตถุประสงค์การจัดตั้งเพื่อการวิจัย การบริการวิชาการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านดาราศาสตร์ การสร้างเครือข่ายด้านดาราศาสตร์ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ ที่ผ่านมาสถาบันได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาตร์ของที่สำคัญของประเทศไทย ได้แก่ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ควบคุมระยะไกลอัตโนมัติ หอสังเกตุตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ และในอนาคตยังจะดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาสตร์เพิ่มเติมอีก อาทิ ห้องปฎิบัติการขั้นสูงด้านดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ เป็นต้น
การดำเนินการที่ผ่านมามีเอกสารราชการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาสตร์จำนวนมากที่สมควรอย่างยิ่งที่จะต้องเก็บรักษาและอนุรักษ์ไว้ นอกจากนี้ ยังมีบันทึกเอกสารทางประวัติศาสตร์ วรรณคดี และศิลปกรรมของชาติไทยที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ที่สมควรเก็บรักษาและอนุรักษ์ไว้อีกมากมาย
หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (NARU : NARIT Archives & Records Unit) จึงถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นหน่วย รวบรวม จัดเก็บ สงวนรักษาอย่างเป็นระบบและให้บริการซึ่ง เอกสาร บันทึกสารสนเทศ บันทึกข้อมูลลงในวัสดุและสื่อที่มีรูปแบบต่าง ๆ ตามพัฒนาการของเทคโนโลยีและยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ของสถาบันหรือของบุคคล ที่ได้จัดทำขึ้นหรือรับไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงาน กิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งสิ้นกระแสตามการปฏิบัติงานของหน่วยงานแล้ว และได้รับการประเมินคุณค่าอย่างถูกต้องแล้วว่า มีความสำคัญ สมควรแก่การเก็บรักษาระยะยาว ไม่ให้สูญหายไปตามกาลเวลา อนุรักษ์ไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรม เป็นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ทางดาราศาสตร์ของไทย เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้า และวิจัยทางด้านประวัติศาสตร์ดาราศาสตร์ไทยต่อไป
N = National Astronomical Research Institute of Thailand (NARIT)
A = Archives
R = Records
U = Unit
คำย่อ “NARU” คำอ่านออกเสียงภาษาไทยว่า “น่ารู้”
สีน้ำเงิน แสดงถึง สถาบันพระมหากษัตริย์ไทย
สีส้ม แสดงถึง สีประจำวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ วันพฤหัสบดี
ดาวประจำยาม (สีส้ม) แสดงถึง ลายไทยพื้นฐานรูปสี่เหลี่ยมทแยงมุมมีลักษณะคล้ายดอกไม้สี่กลีบ ซึ่งเปรียบ เสมือนพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4
ความหมายของสัญลักษณ์
สัญลักษณ์ของจดหมายเหตุดาราศาสตร์ ประกอบด้วย อักษรย่อ “NARU” (NARIT Archives & Records Unit) และ "ดาวประจำยาม" NARU มีอักษรเป็นสีน้ำเงินอันเป็นศิริมงคลด้วยแสดงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงพระอัจฉริยภาพทางด้านดาราศาสตร์ และได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
โดยตำแหน่งของ “ดาวประจำยาม” อยู่ด้านบนขวาของอักษร N ซึ่งเป็นอักษรย่อของ NARIT แสดงนัยว่า NARIT เป็น North celestial pole คือ ขั้วฟ้าเหนือ ที่เป็นจุดอ้างอิงในการกำหนดวัดตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า สื่อความหมายว่า NARU ทำหน้าที่เป็นหน่วยรวบรวมข้อมูล เป็นแหล่งอ้างอิงทางด้านดาราศาสตร์ที่มีคุณค่า และอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ทางด้านดาราศาสตร์ของไทย
หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์
หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์
หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 - ปีปัจจุบัน