ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

Hits:1324

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...

อ่านต่อ ...

NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…

Hits:861

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...

อ่านต่อ ...

17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”

Hits:566

จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...

อ่านต่อ ...

กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”

Hits:1592

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...

อ่านต่อ ...

ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…

Hits:1509

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:4597

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:3781

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:2711

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:2202

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:9330

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:21795

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:15108

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:15645

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:17123

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4772

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4749

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:4473

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่

Hits:560

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...

อ่านต่อ ...

12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…

Hits:719

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...

อ่านต่อ ...

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…

Hits:2391

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...

อ่านต่อ ...

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…

Hits:520

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

Training

ประดิษฐ์เครื่องวัดอุณหภูมิไร้การสัมผัส สู้ COVID-19

 

DIY Anodize

 

ประดิษฐ์เครื่องฟอกอากาศสู้ PM 2.5 ควบคุมผ่าน Line Bot API

 

Micro : bit Robot

 

Maching Jig and Fixture Design

ในการควบคุมคุณภาพทางด้านมิติของชิ้นส่วนเครื่องจักรกลที่ต้องการผลิตจำนวนมาก จำเป็นต้องควบคุมความเสถียรของการผลิตให้ได้ก่อน จึงจะสามารถปรับตั้งแก้กระบวนการผลิตได้ โดยปัจจัยนำเข้าในการผลิตชิ้นส่วนอาจเกิดจากการจับยึดชิ้นงานดิบที่ไม่มั่นคง การจับยึดและ Alignment ที่ไม่สอคล้องกับแบบงาน (Drawing) การบิดเบี้ยวของชิ้นงานอันเนื่องจากความร้อน การกำหนดตำแหน่งและขนาดของปลอกนำเจาะ (Jig) ไม่ถูกต้องตามหลัก GD&T การสอบเทียบอุปกรณ์จับยึดที่ผิดพลาด เป็นต้น ดังนั้นเพื่อคุณภาพของชิ้นส่วนและความรวดเร็วในการปรับตั้งก่อนการผลิต (Set up) จึงจำเป็นต้องใช้จิ๊กและฟิกซ์เจอร์เป็นเครื่องมือช่วยในการผลิต

 

ผู้ควรเข้ารับการอบรม :

วิศวกรหรือช่างเทคนิคทางด้านการออกแบบ/การผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรกลและเครื่องมือ

เนื้อหาหลักสูตร :

  1. จุดมุ่งหมายของการออกแบบเครื่องมือจับยึด
  2. ชนิดและหน้าที่ของจิ๊กและฟิกซ์เจอร์
  3. แบบงานของชิ้นส่วนและการประเมินความคลาดเคลื่อนในการออกแบบจิ๊กและฟิกซ์เจอร์
  4. หลักการการกำหนดตำแหน่งและการรองรับชิ้นงานตามดาตั้มของ GD&T
  5. ขนาดและทิศทางของแรงต่อชิ้นงาน
  6. หลักการของการจับยึดชิ้นงานและการประเมินระยะเคลื่อนที่
  7. หลักการของการสร้างจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ขั้นพื้นฐาน
  8. แบบงานชิ้นส่วนของจิ๊กและฟิกซ์เจอร์
  9. วัสดุที่ใช้ทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์และผลกระทบจากอุณหภูมิ
  10. แรงในการจับยึดชิ้นงาน
  11. การตรวจสอบและการสอบเทียบจิ๊กและฟิกซ์เจอร์

คุณสมบัติของผู้รับการอบรม :

  1. มีความรู้ในเรื่อง GD&T มาตรฐาน ASME Y14.5
  2. ผ่านการฝึกอบรมเรื่อง Tolerance stack up
  3. สามารถอ่านค่าวัดของเครื่อง CMM ได้

                                         

วิทยากร:   อ. ธวัชชัย นุชโสภา

 

04 01 04 02 04 03

 

 

Machine Learning in Computer Vision

 

หลักการออกแบบระบบการผลิตอัตโนมัติประสิทธิภาพสูง

การนำระบบอัตโนมัติมาใช้งานหรือการสร้างเครื่องจักรอัตโนมัติมาใช้งานมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องรู้ว่าเครื่องจักรที่เราจะนำมาใช้นั้นจะต้องไปแทนกระบวนการใดหรือตำแหน่งใดของสายการผลิตจึงจะให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ามากที่สุดหรือแม้กระทั้งว่าเมื่อเลือกตำแหน่งหรือเลือกกระบวนการที่จะใช้เครื่องจักรอัตโนมัติอย่างถูกต้องและคุ้มค่าที่สุดแล้วการออกแบบเครื่องจักรเองจะต้องเป็นเครื่องจักรที่ทำงานโดยปราศจากความสูญเปล่าหรือความสูญเสียในกระบวนการทำงานในตัวเครื่องจักรและเครื่องจักรที่ดีก็จะต้องสามารถคงสภาพการผลิตที่มีประสิทธิภาพไว้อย่างสม่ำเสมอตลอดวงจรอายุของผลิตภัณฑ์ที่เราใช้เครื่องจักรนั้น

 

วัตถุประสงค์

เข้าใจถึงแนวคิดและวิธีการที่จะปรับปรุงกระบวนการผลิตอย่างไรก่อนที่จะนำเครื่องจักรอัตโนมัติมาใช้และมีหลักการในการออกแบบเครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพสูงได้อย่างไร

ผู้ควรเข้าร่วมอบรม :

  • ผู้ประกอบการ, ผู้ออกแบบและสร้างเครื่องจักรอัตโนมัติ
  • วิศวกรหรือช่างเทคนิค

หัวข้อการอบรม :

  • กระบวนการผลิตและการจำแนกงานสู่กระบวนการผลิต
  • กระบวนการผลิตแบบลีนเป็นขั้นเป็นตอน (Step by Step)
  • กระบวนการผลิตอัตโนมัติแบบลีน (Focus Lean Auto.)      
  • หลักการออกแบบเครื่องจักรอัตโนมัติแบบลีน (Lean Automation Design)
  • ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร (OEE)และหลักการคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพของเครื่องจักร

 

02 01

02 02 02 03 02 04

                       

GD&T ในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องจักรกลความแม่นยำสูง

การสร้างเครื่องจักรกลอัตโนมัติ ต้องการเครื่องจักรที่สอดคล้องตามการทำงาน มีความแม่นยำตามที่กำหนด ประหยัดพลังงาน ทนทาน อายุเป็นไปตามการออกแบบ และราคาถูกที่สุด โดย Geometric Dimensioning and Tolerancing หรือ GD&T เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล ซึ่ง GD&T มีการใช้งานในต่างประเทศทั้งในทวีปอเมริกาและยุโรปมาแล้วไม่ต่ำกว่า 80 ปี ดังนั้นหากต้องการออกแบบหรือผลิตเครื่องจักรกลจึงต้องมีความเข้าใจในเรื่อง GD&T นี้ให้ถ่องแท้เสียก่อน

 

วัตถุประสงค์

เข้าใจถึงผลกระทบจากการกำหนดสัญลักษณ์ GD&T ต่อการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล

ผู้ควรเข้าร่วมอบรม :

วิศวกรหรือช่างเทคนิคทางด้านเครื่องกล การออกแบบ/การผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรกล และการควบคุมคุณภาพด้านขนาด(Dimension)

หัวข้อการอบรม :

  • ความหมายของแบบงานทางวิศวกรรมเครื่องกล
  • การกำหนดส่วนต่างๆของชิ้นงาน (Full define feature)
    ในแบบงาน (Drawing)
  • ผลกระทบจากแบบงานหรือ Drawing ที่กำหนดขนาดไม่สมบูรณ์ (Design Failure Mode Effect Analysis)
  • หลักการเบื้องต้นในการกำหนดขนาด
  • การให้ขนาดแบบ GD&T ในแบบงาน
  • พื้นฐาน GD&T ในการควบคุมรูปทรง
  • พื้นฐาน GD&T ในการควบคุมการจัดวาง
  • พื้นฐาน GD&T ในการควบคุมการวางตำแหน่ง
  • การวัด GD&T ด้วยเครื่อง CMM
  • ผลกระทบของ GD&T ต่อการปรับตั้ง (Set up) การผลิต
  • การวิเคราะห์การประกอบของชิ้นส่วนด้วย Stack up Tolerance Analysis (STA)
  • การกำหนดสัญลักษณ์ GD&T และค่าความเผื่อ Allocating Tolerance
  • การวัด GD&T ในการปรับประกอบชิ้นส่วน

 

 01 01

2D Dimensioning

 

 01 02

3D Dimensioning

 

01 03 

Stack up tolerance Analysis

 

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024  ETDA Banner 2567 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023

 

event banner 

    virtualtour