ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

Hits:1324

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...

อ่านต่อ ...

NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…

Hits:861

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...

อ่านต่อ ...

17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”

Hits:566

จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...

อ่านต่อ ...

กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”

Hits:1592

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...

อ่านต่อ ...

ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…

Hits:1509

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:4597

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:3781

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:2711

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:2202

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:9330

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:21795

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:15108

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:15645

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:17123

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4772

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4749

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:4473

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่

Hits:560

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...

อ่านต่อ ...

12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…

Hits:719

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...

อ่านต่อ ...

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…

Hits:2391

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...

อ่านต่อ ...

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…

Hits:520

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

planetarium for school

ติดต่อ

ศูนย์บริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

260 อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร หมู่ 4 ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่

โทรศัพท์. 053-121268-9 ต่อ 306 (ศูนย์บริการวิชาการฯ)

โทรสาร. 053-121250

โทรศัพท์ (มือถือ) 088-5477834 (คุณคมสันต์)

e-mail : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.   

Line Group : https://line.me/R/ti/g/x9g9VGC9wo

 

Line Group QR >> (มอบโดม รุ่นที่ 2)

QR มอบโดม 2 2

ติดต่อ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

ศูนย์บริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) - สำนักงานใหญ่

260 อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร หมู่ 4 ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180

โทรศัพท์                    053-121269 ต่อ 306 (ศูนย์บริการวิชาการฯ)

โทรศัพท์(มือถือ)       088-5477834 (คุณคมสันต์) [ในวันและเวลาราชการ]

e-mail                       This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

Line Official ID      @295ntycn (NARIT-กระจายโอกาส)

Line Official QR

planetariumforschool 2567 05

 

 

ดาวน์โหลด

planetariumforschool 2567 06

Logo NARIT Planetarium

  • (ตัวอย่าง-1) ผลการดำเนินกิจกรรมดาราศาสตร์ที่ผ่านมา [.pttx] >> คลิกที่นี่ <<

ข้อผูกพันในการเข้าร่วมโครงการ

          โรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการฯ ถือว่าเป็นโรงเรียนที่ได้รับความร่วมมือและได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เพื่อท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่เพื่อการเรียนรู้ระดับโรงเรียนไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ครู นักเรียน นักศึกษา และชุมชนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ โดยมีรายละเอียดข้อผู้พันธ์ดังต่อไปนี้

  1. โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ จะต้องนำท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่ไปใช้สำหรับการจัดกิจกรรมทางดาราศาสตร์ให้แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
  2. โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จะต้องรวบรวมข้อมูลการใช้งานท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่ เพื่อรายงานผลการดำเนินกิจกรรม การใช้งาน โดยรายงานเป็นรายกิจกรรม และรายงานเป็นรายปีงบประมาณ
  3. ท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่เพื่อการเรียนรู้ระดับโรงเรียนนี้ ให้ไว้เพื่อใช้ในการเผยแพร่ข้อมูล จัดกิจกรรมดาราศาสตร์ โดยอยู่ภายใต้การดูแลของโรงเรียน มิสามารถเคลื่อนย้ายหรือส่งต่อให้หน่วยงานอื่นได้ เว้นแต่ได้รับความเห็นชอบหรือยินยอม จากทั้งสองฝ่าย
  4. ระยะเวลาในการดำเนินงานและความร่วมมือจะมีระยะเวลาทั้งสิ้น 5 ปี นับตั้งแต่ได้รับมอบชุดท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่ โดยโรงเรียนที่ได้รับมอบจะต้องดำเนินการจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน และรายงานผลการจัดกิจกรรมเป็นรายปีงบประมาณ

ข้อกำหนดในการรับอุปกรณ์กลับโรงเรียน

Banner ข้อกำหนดส่งของ มอบโดม67 02

          หลังจากที่โรงเรียนส่งครูหรือผู้แทนโรงเรียนเข้าร่วมอบรมการใช้งานและติดตั้งท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่สำหรับโรงเรียนข้างต้นแล้ว โรงเรียนจะต้องดำเนินการจัดส่งอุปกรณ์ดังกล่าวกลับโรงเรียนเอง โดยสามารถดำเนินการจัดส่งหรือรับมอบกล้องและสื่อได้หลายรูปแบบ ดังมีรายละเอียดดังนี้

  1. รับชุดอุปกรณ์ท้องฟ้าจำลองและสื่อ ด้วยรถยนต์ส่วนตัว/รถของโรงเรียน

- รถที่สามารถบันทุกอุปกรณ์และสื่อกลับได้ : รถกระบะ(มีหลังคา), รถเก๋ง(เบาะหลังว่าง) และรถตู้

- จุดนัดหมายรับชุดอุปกรณ์ : ณ โรงแรมคุ้มภูคำ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

- วันที่นัดหมายรับชุดอุปกรณ์ : วันเสาร์ ที่ 31 สิงหาคม 2567 (เวลา 18.00 น. เป็นต้นไป)

  1. ส่งกล้องและสื่อ ด้วยบริษัทขนส่งเอกชน

- ทางโรงเรียนติดต่อประสานกับบริษัทเอกชนเอง เพื่อเข้ารับชุดอุปกรณ์และสื่อกลับโรงเรียน

- จุดนัดหมายรับชุดอุปกรณ์ : ณ โรงแรมคุ้มภูคำ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

- วันที่นัดหมายรับชุดอุปกรณ์ : วันเสาร์ ที่ 31 สิงหาคม 2567 (เวลา 18.00 น. เป็นต้นไป)

  1. ใช้บริการของสถาบันฯ จัดส่งชุดอุปกรณ์และสื่อให้ ณ หอดูดาวฯ ภูมิภาค

         - สถาบันฯ จะดำเนินการส่งชุดอุปกรณ์ ณ หอดูดาวฯ ภูมิภาค (ฟรี.......)

         - จุดนัดหมายรับชุดอุปกรณ์ จำนวน 4 จุด

               1) หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ ฉะเชิงเทรา

               2) หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ นครราชสีมา

               3) หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา

               4) หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ ขอนแก่น

         - วัน เวลา ในการติดต่อรับชุดอุปกรณ์ : ระหว่างวันที่ 4 - 30 กันยายน 2567 (ยกเว้นวันจันทร์) ตั้งแต่เวลา 09.00 - 16.30 น.

หมายเหตุ  : - บริการฝากส่งในรูปแบบที่ 3 จะดำเนินการจัดส่งให้ ณ หอดูดาวฯ ภูมิภาค 4 แห่งเป็นหลัก และโรงเรียนจะต้องติดต่อรับกล้องและสื่อด้วยตัวเอง (ไม่อนุญาตให้บริษัทขนส่งไปรับแทน)

                    -  หากโรงเรียนใดต้องการจัดส่งนอกเส้นทาง สามารถดำเนินการได้ (มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม) แต่ต้องอยู่ในเส้นทางที่บริษัทขนส่งเดินทางไปหอดูดาวทั้ง 4 แห่ง หรือเป็นไปตามที่บริษัทขนส่งกำหนด

 

ชุดอุปกรณ์ที่จะรับกลับโรงเรียน

planetariumforschool 2567 02

planetariumforschool 2567 03

planetariumforschool 2567 04

 

สถานที่และกำหนดการเข้าร่วมอบรม

          โรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการฯ จะต้องส่งครูหรือบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมอบรมการใช้งานและติดตั้งท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่สำหรับโรงเรียนและรับชุดอุปกรณ์สำหรับติดตั้งท้องฟ้าจำลองจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ตามวันเวลาที่กำหนด โดยมีรายละเอียดการเข้าร่วม ดังนี้

  • ส่งตัวแทนครู/บุคคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมอบรม โรงเรียนละ 2 ท่าน
  • ครูตัวแทนที่เข้าร่วมอบรมต้องเป็นผู้ประสานงานโครงการหรือครูผู้ดำเนินโครงการเท่านั้น

 

วันจัดกิจกรรม

        ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม – 1 กันยายน 2567

 

สถานที่จัดกิจกรรม

ลงทะเบียน/พิธีรับมอบ/จัดกิจกรรมดูดาว

venue 01

ณ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สำนักงานใหญ่)

เลขที่ 260 หมู่ 4 ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่

 

อบรม/ฝึกปฏิบัติติดตั้งโดม/โรงแรมที่พัก

venue 02

ณ โรงแรมคุ้มภูคำ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

ถ.คันคลองชลประทาน ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่

 

ดาวน์โหลดกำหนดการ    >> คลิกที่นี่ <<

 

ประกาศผลการคัดเลือก

planetariumforschool 2567 07

 

 

 

          ในการนี้ โรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกทั้ง 40 โรงเรียน กรุณาส่ง แบบตอบรับเข้าร่วมโครงการฯ พร้อมทั้งแจ้งรายละเอียดครูผู้ประสานงาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลติดต่อประสานงานการเข้าร่วมอบรมฯ และรับมอบอุปกรณ์ต่อไป กรุณาส่งแบบตอบรับฯ มายังสถาบันฯ ทาง  e-mail ที่ This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. ภายใน วันจันทร์ ที่ 12 สิงหาคม 2567

          สำหรับตัวแทนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ กรุณาเตรียมตัวเดินทางเพื่อร่วมอบรมการติดตั้งและใช้งานท้องฟ้าจำลองเพื่อการเรียนรู้ระดับโรงเรียน และพิธีรับมอบชุดประกอบท้องฟ้าจำลอง ณ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ และโรงแรมคุ้มภูคำ อ.เมือง จ.เชียงใหม่  ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม - 1 กันยายน 2567                          

          ทั้งนี้ สถาบันฯ จะเป็นผู้รับผิดชอบค่าอาหาร และค่าที่พักระหว่างการอบรม สำหรับค่าเดินทางจากภูมิลำเนามายัง จ. เชียงใหม่ รวมถึงค่าขนส่งอุปกรณ์ประกอบท้องฟ้าจำลองกลับโรงเรียน ขอให้เบิกจ่ายจากต้นสังกัด

 

  • ตรวจสอบสถานการณ์ส่งแบบตอบรับเข้าร่วมโครงการ

กรุณารอเจ้าหน้าที่ตรวจสอบรายละเอียดแบบตอบรับ และอัพเดทข้อมูลแบบตอบรับ พร้อมทั้งตรวจสอบ e-mail ตอบกลับที่ทางสถาบันฯ ส่งตอบกลับเพื่อแจ้งการตอบรับการเข้าร่วมโครงการอีกครั้งหนึ่ง

>>> ตรวจสอบสถานการณ์ส่งแบบตอบรับเข้าร่วมโครงการ คลิกที่นี่ <<<

 

          หลังจากส่งแบบตอบรับเข้าร่วมโครงการฯ ทาง e-mail เรียบร้อยแล้ว ผู้แทนโรงเรียนที่เข้าร่วมอบรม กรุณาเพิ่มเพื่อนเข้าสู่ Line Group เพื่อใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร และการเตรียมตัวเข้าร่วมอบรม

          Line Group : https://line.me/R/ti/g/GsWE7rAREa

planetariumforschool 2567 08

 

การพิจารณาคัดเลือก

         สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จะแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือก โรงเรียนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 40 โรงเรียน โดยมีรายละเอียดการพิจารณา ดังนี้

  1. พิจารณาจากความพร้อมในการนำท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางดาราศาสตร์ในโรงเรียน ชมรม/ชุมนุมดาราศาสตร์ หรือชุมชนใกล้เคียง (พิจารณาจากข้อมูลที่แนบส่ง)
  2. พิจารณาจากความพร้อมของบุคลากร (ครู) ที่ส่งใบสมัครเข้าร่วมโครงการ หรือครูที่จะดำเนินงานโครงการหลังจากได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการแล้ว
  3. พิจารณาจากความพร้อมของบุคลากรภายในโรงเรียน (ครูและนักเรียน) และความเหมาะสมของโรงเรียนที่จะนำท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่ไปใช้งาน
  4. พิจารณาจากประสบการณ์และความต่อเนื่องของการดำเนินโครงการและกิจกรรมทางด้านดาราศาสตร์ในโรงเรียน (ผลการดำเนินงาน/กิจกรรม ไม่น้อยกว่า 1 ปี ที่ผ่านมา)
  5. พิจารณาจากความหลากหลายของการจัดกิจกรรมทางดาราศาสตร์ เช่น กิจกรรมดูดาว รูปแบบ และวิธีการจัดกิจกรรมทางดาราศาสตร์
  6. พิจารณาจากแผนการดำเนินกิจกรรมดาราศาสตร์ในอนาคตภายหลังได้รับการสนับสนุนท้องฟ้าจำลอง (จากข้อมูลแผนการจัดกิจกรรมที่แนบส่งเข้ามา)
  7. พิจารณาจากความขาดแคลนอุปกรณ์และสื่อการเรียนรู้ดาราศาสตร์ หรืออยู่ในพื้นที่ห่างไกลแหล่งการเรียนรู้ทางดาราศาสตร์

สมัครเข้าร่วมโครงการ

planetariumforschool 2567 01

โรงเรียนที่สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการฯ สามารถตรวจสอบคุณสมบัติโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ       จากรายละเอียดข้างต้น  และส่งใบสมัครเข้าร่วมโครงการ รายละเอียดและขี้นตอนดังต่อไปนี้

  1. เตรียมเอกสารและข้อมูลประกอบการสมัคร
    • แบบแสดงความเห็นผู้บริหาร (พร้อมลงนามเห็นชอบ)
    • สำเนาเกียรติบัตร เพื่อแสดงการผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมของ NARIT
    • ข้อมูลคำอธิบายเกี่ยวกับโรงเรียน (รูปภาพประกอบในแต่ละรายการ รวมภาพให้อยู่ในไฟล์ .docx หรือ .PDF เท่านั้น)

      - ด้านกายภาพ (เตรียมรูปภาพประกอบ)

      - ด้านการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมดาราศาสตร์ (เตรียมรูปภาพประกอบ)

      - ด้านการจัดกจิกรรม ชมรม/ชุมนุม ดาราศาสตร์ (เตรียมรูปภาพประกอบ)

      - ด้านการพัฒนาบุคลากร (เตรียมรูปภาพ/เกียรติบัตร ประกอบ)

    • ข้อมูลสื่อการสอนและอุปกรณ์เพื่อการเรียนรู้/สื่อและอุปกรณ์ที่โรงเรียนมีอยู่ (พร้อมรูปภาพประกอบ)
    • ผลการดำเนินกิจกรรมดาราศาสตร์/วิทยาศาสตร์ ของโรงเรียนในช่วงที่ผ่านมา (ไม่น้อยกว่า 1 ปี) พร้อมแนบส่งไฟล์นำเสนอผลการจัดกจิกรรมที่ผ่านมา [เตรียมข้อมูลในรูปแบบ .pptx]
    • แผนการดำเนินงานและจัดกิจกรรมดาราศาสตร์ในอนาคตหลังได้รับการสนับสนุนท้องฟ้าจำลอง [เตรียมข้อมูลใสรูปแบบ .docx]
  1. ส่งข้อมูลการสมัคร ผ่านระบบออนไลน์ บน Google Forms 
    • พร้อมกรอกข้อมูลการสมัครและแนบส่งไฟล์ประกอบการสมัครที่เตรียมไว้ก่อนหน้านี้ สมัครเข้าร่วมโครงการ

>>> หมดเขตรับสมัครเข้าร่วมโครงการ <<<

  1. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกโรงเรียนที่มีความเหมาะสมเข้าร่วมโครงการ
    • โดยคณะกรรมการจะดำเนินการพิจารณาคัดเลือกตามคุณสมบัติและความเหมาะสม จากข้อมูลที่แนบส่งมาพร้อมใบสมัคร
  2. ประกาศผลการคัดเลือกโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ
    • หลังจากที่คณะกรรมพิจารณาคัดเลือกโรงเรียนที่เหมาะสมเข้าร่วมโครงการแล้ว จะดำเนินการประกาศผลการคัดเลือกต่อไป
  3. ยืนยันเข้าร่วมโครงการ
    • และส่งตัวแทนครูเข้าร่วมอบรมการใช้งานและติดตั้งท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่สำหรับโรงเรียน ตาม วัน เวลา ที่สถาบันฯ กำหนด
  4. เข้าร่วมอบรม/รับอุปกรณ์ และจัดส่งกลับโรงเรียน
    • หลังจากอบรมการใช้งานและติดตั้งท้องฟ้าจำลองแล้ว โรงเรียนดำเนินการจัดส่งชุดอุปกรณ์ประกอบท้องฟ้าจำลองกลับโรงเรียน เพื่อนำไปใชด้งานต่อไป

 

กำหนดการรับสมัคร

หมดเขตส่งใบสมัคร                         2 สิงหาคม 2567

ประกาศผลการคัดเลือก                   8 สิงหาคม 2567

แจ้งการยืนยันการเข้าร่วม                8 – 12 สิงหาคม 2567

ประกาศรายชื่อ(Final)                      14 สิงหาคม 2567

 

คุณสมบัติโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ

Banner คุณสมบัติ มอบโดม67 02

โรงเรียนที่จะสมัครเข้าร่วม “โครงการท้องฟ้าจำลองเพื่อการเรียนรู้ระดับโรงเรียน” ประจำปี 2567 จะต้องมีคุณสมบัติตามที่คณะกรรมการกำหนด ดังมีรายละเอียด ดังนี้

  1. เป็นโรงเรียน/สถานศึกษา ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกสังกัดจากทั่วประเทศ (ทั้งรัฐหรือเอกชน)
  2. โรงเรียนมีบุคลากร (ครู) ที่มีความรู้พื้นฐานทางดาราศาสตร์ และเคยผ่านการอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านดาราศาสตร์ขั้นต้น ขั้นกลาง หรือกิจกรรมอบรมอื่นๆที่ทางสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติจัดอบรมขึ้นก่อนหน้านี้ (พร้อมแนบเกียรติบัตรอบรมประกอบ)
  3. โรงเรียนมีความพร้อม (ทั้งครูและนักเรียน) ในการนำท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่ไปใช้งานต่อไปในอนาคต
  4. มีชมรม/ชุมนุมดาราศาสตร์ ในโรงเรียน มีการจัดกิจกรรมภายในชมรมอย่างต่อเนื่อง
  5. มีการดำเนินงานและจัดกิจกรรมดาราศาสตร์/วิทยาศาสตร์ ก่อนหน้านี้อย่างต่อเนื่อง ไม่ต่ำกว่า 1 ปี
  6. โรงเรียนมีความพร้อมที่จะนำท้องฟ้าจำลองเคลื่อนที่ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมทางดาราศาสตร์ในโรงเรียน และขยายผลสู่ชุมชนใกล้เคียง รวมถึงพร้อมที่จะพัฒนาเป็นเครือข่ายแกนนำทางดาราศาสตร์ต่อไปได้ในอนาคต
  7. โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการกระจายโอกาสการเรียนรู้ดาราศาสตร์ 77 จังหวัด ที่ได้รับมอบกล้องโทรทรรศน์จากสถาบันฯ แล้ว สามารถสมัครเข้าร่วมโครงการได้

 

 

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024  ETDA Banner 2567 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023

 

event banner 

    virtualtour