ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

Hits:1324

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...

อ่านต่อ ...

NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…

Hits:861

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...

อ่านต่อ ...

17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”

Hits:566

จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...

อ่านต่อ ...

กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”

Hits:1592

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...

อ่านต่อ ...

ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…

Hits:1509

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:4597

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:3781

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:2711

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:2202

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:9330

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:21795

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:15108

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:15645

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:17123

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4772

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4749

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:4473

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่

Hits:560

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...

อ่านต่อ ...

12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…

Hits:719

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...

อ่านต่อ ...

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…

Hits:2391

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...

อ่านต่อ ...

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…

Hits:520

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

00_Uncategoried

ประกาศ เรื่อง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา ซื้อสิทธิ์การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 รายการ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง

ประกาศ เรื่อง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา ซื้อสิทธิ์การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 รายการ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง

ประกาศ เรื่อง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา ซื้อสิทธิ์การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 รายการ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง

Read more ...

การแข่งขันตอบปัญหาดาราศาสตร์ Astro Challenge ปริศนาดาราศาสตร์

การแข่งขันตอบปัญหาดาราศาสตร์ Astro Challenge ปริศนาดาราศาสตร์

 

pr20230424 1 00 01       pr20230424 1 00 02

 

อยู่ระหว่างการปรับปรุงข้อมูล

อยู่ระหว่างการปรับปรุงข้อมูล

Cookies Policy

Cookies Policy

นโยบายคุกกี้

          เมื่อท่านได้เข้าสู่เว็บไซต์ (https://www.narit.or.th/) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่เว็บไซต์ ของท่านจะถูกบันทึกไว้ในรูปแบบของคุกกี้ โดยนโยบายคุกกี้นี้จะอธิบายถึงความหมาย การทำงาน วัตถุประสงค์ รวมถึงการลบและการปฏิเสธการเก็บคุกกี้ เพื่อความเป็นส่วนตัวของท่าน โดยการเข้าสู่เว็บไซต์นี้ถือว่าท่านได้อนุญาตให้เราใช้คุกกี้ตามนโยบายคุกกี้ที่มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

คุกกี้คืออะไร

          คุกกี้ คือ ไฟล์เล็ก ๆ เพื่อจัดเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานเว็บไซต์ เช่น วันเวลา ลิงค์ที่คลิก หน้าที่เข้าชม เงื่อนไขการตั้งค่าต่าง ๆ โดยจะบันทึกลงไปในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ/หรือ เครื่องมือสื่อสารที่เข้าใช้งานของท่าน เช่น โน๊ตบุ๊ค แท็บเล็ต หรือ สมาร์ทโฟน ผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ในขณะที่ท่านเข้าสู่เว็บไซต์ โดยคุกกี้จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ/หรือ เครื่องมือสื่อสารของท่าน ในกรณีดังต่อไปนี้ ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านอาจถูกจัดเก็บเพื่อใช้เพิ่มประสบการณ์การใช้งานบริการทางออนไลน์ โดยจะจำเอกลักษณ์ของภาษาและปรับแต่งข้อมูลการใช้งานตามความต้องการของท่าน เป็นการยืนยันคุณลักษณะเฉพาะตัว ข้อมูลความปลอดภัยของท่าน รวมถึงบริการที่ท่านสนใจ นอกจากนี้คุกกี้ยังถูกใช้เพื่อวัดปริมาณการเข้าใช้งานบริการทางออนไลน์ การปรับเปลี่ยนเนื้อหาตามการใช้งานของท่านโดยพิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าใช้งานครั้งก่อนๆและ ณ ปัจจุบัน และอาจมีวัตถุประสงค์เพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์

          ทั้งนี้ท่านสามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ www.allaboutcookies.org

 

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ใช้คุกกี้อย่างไร

          สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ใช้คุกกี้ เพื่อบันทึกการเข้าเยี่ยมชมและสมัครเข้าใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยทำให้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สามารถจดจำการใช้งานเว็บไซต์ของท่านได้ง่ายขึ้น และข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำไปเพื่อปรับปรุงเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ให้ตรงกับความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกให้เกิดความรวดเร็วในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน และในบางกรณี สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จำเป็นต้องให้บุคคลที่สามช่วยดำเนินการดังกล่าว ซึ่งอาจจะต้องใช้ อินเตอร์เน็ตโปรโตคอลแอดเดรส (IP Address) และคุกกี้เพื่อวิเคราะห์ทางสถิติ ตลอดจนเชื่อมโยงข้อมูล และประมวลผลตามวัตถุประสงค์ทางการตลาด   

          คุกกี้ที่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)  ใช้ อาจจะแบ่งได้ 2 ประเภทตามการจัดเก็บ ดังนี้

  1. Session Cookies เป็นคุกกี้ที่จะอยู่ชั่วคราวเพื่อจดจำท่านในระหว่างที่ท่านเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เช่น เฝ้าติดตามภาษาที่ท่านได้ตั้งค่าและเลือกใช้ เป็นต้น และจะมีการลบออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ของท่าน เมื่อท่านออกจากเว็บไซต์หรือได้ทำการปิดเว็บเบราว์เซอร์
  2. Persistent Cookie เป็นคุกกี้ที่จะอยู่ตามระยะเวลาที่กำหนดหรือจนกว่าท่านจะลบออก คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จดจำท่านและการตั้งค่าต่าง ๆ ของท่านเมื่อท่านกลับมาใช้บริการเว็บไซต์อีกครั้ง ซึ่งจะช่วยให้ท่านเข้าใช้บริการเว็บไซต์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

          วัตถุประสงค์ในการใช้งานคุกกี้ที่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ใช้ มีรายละเอียดดังนี้  

  • คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)  รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

  • คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วยให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

  • คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

ประเภทของคุกกี้

รายละเอียด

ตัวอย่าง

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

·      PHPSESSID

·      JSESSIONID

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)  รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

·      __utmc

·      _hjIncludedInPageviewSample

·      _hjTLDTest

·      _gid

·      __utma

·      __utmb

·      __utmt

·      __utmz

·      _hjid

·      _ga

·      _hjAbsoluteSessionInProgress

·      _hjFirstSeen

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วยให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

·      fbsr_340486642645761

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

·      gat_gtag_xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

·      _utmv#########

·      TESTCOOKIESENABLED

·      YSC

·      NID

·      test_cookie

·      GPS

·      VISITOR_INFO1_LIVE

 

ท่านจะจัดการคุกกี้ได้อย่างไร

          บราวเซอร์ส่วนใหญ่จะมีการตั้งค่าให้มีการยอมรับคุกกี้เป็นค่าเริ่มต้น อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถปฏิเสธการใช้งานหรือลบคุกกี้ในหน้าการตั้งค่าของบราวเซอร์ที่ท่านใช้งานอยู่ ทั้งนี้ หากท่านทำการปรับเปลี่ยนการตั้งค่าบราวเซอร์ของท่านอาจส่งผลกระทบต่อรูปแบบและการใช้งานบนหน้าเว็บไซต์ของเราได้ หากท่านประสงค์ที่จะทำการปรับเปลี่ยนการตั้งค่า ท่านสามารถตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ตามลิงก์ที่ได้ระบุไว้ข้างล่าง

- Android (Chrome)

https://support.google.com/chrome/answer/95647?co=GENIE.Platform%3DAndroid&hl=en&oco=1

- Apple Safari

https://support.apple.com/en-gb/guide/safari/sfri11471/mac

- Blackberry

https://docs.blackberry.com/content/dam/docs-blackberry-com/release-pdfs/en/device-user-guides/BlackBerry-Classic-Smartphone-10.3.3-User-Guide-en.pdf

- Google Chrome

https://support.google.com/chrome/answer/95647?co=GENIE.Platform%3DDesktop&hl=en

- Microsoft Edge

https://support.microsoft.com/en-us/windows/microsoft-edge-browsing-data-and-privacy-bb8174ba-9d73-dcf2-9b4a-c582b4e640dd

- Microsoft Internet Explorer

https://support.microsoft.com/en-us/topic/delete-and-manage-cookies-168dab11-0753-043d-7c16-ede5947fc64d

- Mozilla Firefox

https://support.mozilla.org/en-US/kb/enhanced-tracking-protection-firefox-desktop?redirectslug=enable-and-disable-cookies-website-preferences&redirectlocale=en-US

- Opera

https://help.opera.com/en/latest/web-preferences/

- Iphone or Ipad (Chrome)

https://support.google.com/chrome/answer/95647?co=GENIE.Platform%3DiOS&hl=en&oco=1

- Iphone or Ipad (Safari)

https://support.apple.com/en-us/HT201265

 

          ทั้งนี้ โปรดทราบว่า หากท่านเลือกที่จะปิดการใช้งานคุกกี้บนเบราว์เซอร์หรืออุปกรณ์ของท่าน อาจส่งผลกระทบกับการทำงานบางส่วนของเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ที่ไม่สามารถทำงานหรือให้บริการได้เป็นปกติ

          สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จะไม่รับผิดชอบและ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับเว็บไซต์ รวมทั้งเนื้อหาในเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างบน

          สำหรับข้อมูลอื่นๆ เพิ่มเติมในเรื่องนี้ท่านสามารถเข้าไปอ่านได้ที่

          https://www.aboutcookies.org/how-to-delete-cookies

 

การเชื่อมโยงข้อมูลกับเว็บไซต์อื่น

          เว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) อาจมีการเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์หรือโซเชียลมีเดียของบุคคลภายนอก รวมถึงอาจมีการฝังเนื้อหาหรือวีดีโอที่มาจากโซเชียลมีเดีย เช่น YouTube หรือ Facebook เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้ท่านเข้าถึงเนื้อหาและสร้างการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นบนโซเชียลมีเดียจากเว็บไซต์ของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้ ซึ่งเว็บไซต์หรือโซเชียลมีเดียของบุคคลภายนอกจะมีการกำหนดและตั้งค่าคุกกี้ขึ้นมาเอง โดยที่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ไม่สามารถควบคุมหรือรับผิดชอบต่อคุกกี้เหล่านั้นได้ และขอแนะนำให้ท่านควรเข้าไปอ่านและศึกษานโยบายหรือประกาศการใช้คุกกี้ของบุคคลภายนอกเหล่านั้นด้วย

การเปลี่ยนแปลงประกาศ

         ประกาศนี้อาจมีการปรับปรุงให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์และตามการให้บริการจริง โดย สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จะมีการแจ้งประกาศที่มีการปรับปรุงใหม่บนเว็บไซต์นี้ ดังนั้น สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ขอแนะนำให้ท่านตรวจสอบให้แน่ใจว่าท่านได้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงตามข้อกำหนดดังกล่าว

 

ติดต่อ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ในกรณีที่ท่านมีคำถามเกี่ยวกับนโยบายคุกกี้ของเรา ท่านสามารถติดต่อสอบถามได้ที่

เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน))

260 หมู่ 4 ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม

จังหวัดเชียงใหม่ 50180 โทรศัพท์ (+66) 053-121268-9

 

ประกาศ เรื่อง ประกวดราคาซื้อการรับประกันระบบคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

ประกาศ เรื่อง ประกวดราคาซื้อการรับประกันระบบคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

ประกาศ เรื่อง ประกวดราคาซื้อการรับประกันระบบคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

Read more ...

ประกาศ เรื่อง ประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ จำนวน 9 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

ประกาศ เรื่อง ประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ จำนวน 9 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

ประกาศ เรื่อง ประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ จำนวน 9 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

Read more ...

การแข่งขันออกแบบโครงการสำรวจอวกาศระดับเยาวชน

การแข่งขันออกแบบโครงการสำรวจอวกาศระดับเยาวชน

Read more ...

Sunrise - Sunset

คณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล

1. ศาสตราจารย์ ดร. รัตติกร  ยิ้มนิรัญ ประธานอนุกรรมการ
2. นายมนูญ สรรค์คุณากร อนุกรรมการ
3. นางเนาวรัตน์ บำรุงจิตต์ อนุกรรมการ
4. นางภูวษา สินธุวงศ์ อนุกรรมการ
5. นายพิเศษ จียาศักดิ์ อนุกรรมการ
6. ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ อนุกรรมการ
7. รองผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) อนุกรรมการ
8. ผู้แทนเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) อนุกรรมการ
9. หัวหน้างานบริหารงานบุคคล สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เลขานุการ
10. เจ้าหน้าที่งานบริหารงานบุคคล สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)    ผู้ช่วยเลขานุการ

 

หน้าที่และอำนาจ

(1) เสนอแนะต่อคณะกรรมการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติในการออกระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ และวิธีการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะกรรมการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

(2) พิจารณาแผนบริหารงานบุคคล แผนพัฒนาบุคลากรเสนอต่อคณะกรรมการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ

(3) ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล มาตรฐานกำหนดตำแหน่งการจัดแบ่งส่วนงาน กรอบอัตรากำลัง กรอบอัตราเงินเดือน ค่าจ้างค่าตอบแทน และผลประโยชน์ตอบแทนอื่น

(4) กำกับ ติดตาม และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนบริหารงานบุคคลและแผนพัฒนาบุคลากร

(5) พิจารณา ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ข้อบังคับคณะกรรมการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

(6) รายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารงานบุคคลและแผนพัฒนาบุคลากรต่อคณะกรรมการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

(7) แต่งตั้งคณะทำงานหรือบุคคลเพื่อทำการใด ๆ อันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล

(8) ปฏิบัติงานอื่นที่คณะกรรมการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติมอบหมาย หรือตามที่กำหนดในข้อบังคับคณะกรรมการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2564 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือข้อบังคับอื่น

 

ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 4 เมษายน 2565

 

ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีทัศนศาสตร์

ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีทัศนศาสตร์ มีหน้าที่หลักในการพัฒนาเทคโนโลยีทางทัศนศาสตร์ ประกอบด้วย การพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยทางดาราศาสตร์ขั้นสูง อาทิ การออกแบบกล้องโทรทรรศน์ ระบบกล้องโทรทรรศน์ถ่ายภาพที่มีกำลังการขยายภาพสูง รวมถึงการพัฒนาเครื่องสเปกโตรกราฟที่ใช้ศึกษาสเปกตรัมของวัตถุท้องฟ้า สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับห้องปฏิบัติการณ์เทคโนโลยีทัศนศาสตร์ประกอบไปด้วย ซอฟต์แวร์สำหรับการคำนวณและสร้างแบบจำลอง และห้องปฏิบัติการณ์สำหรับทำการทดลอง โครงการที่อยู่ระหว่างกำลังดำเนินการคือ การออกแบบและสร้างกล้องโทรทรรศน์ขนาดกลาง การพัฒนาอุปกรณ์ลดระยะโฟกัสสำหรับกล้องดูดาวขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร การพัฒนาเครื่องสเปกโตรกราฟ และการวิจัยเรื่องโคโรนากราฟ อีกทั้งยังมีการจัดกิจกรรมฝึกอบรมการออกแบบเชิงทัศนศาสตร์ สำหรับนักเรียนนักศึกษา นักวิจัย และวิศวกร ผ่านการจัดกิจกรรมฝึกอบรมนานาชาติเป็นประจำทุกปี โครงการสำคัญๆ ของห้องปฏิบัติเทคโนโลยีทัศนศาสตร์ ได้แก่ อะแดปทีฟออปติกส์และโคโรนากราฟ (Adaptive Optics and Coronagraph) การพัฒนาเครื่องสเปกโตรกราฟ การพัฒนาอุปกรณ์ลดระยะโฟกัส  การออกแบบและการพัฒนากล้องโทรทรรศน์ขนาดกลาง

 

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024  ETDA Banner 2567 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023

 

event banner 

    virtualtour