ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

Hits:1324

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...

อ่านต่อ ...

NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…

Hits:861

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...

อ่านต่อ ...

17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”

Hits:566

จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...

อ่านต่อ ...

กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”

Hits:1592

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...

อ่านต่อ ...

ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…

Hits:1509

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:4597

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:3781

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:2711

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:2202

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:9330

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:21795

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:15108

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:15645

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:17123

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4772

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4749

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:4473

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่

Hits:560

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...

อ่านต่อ ...

12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…

Hits:719

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...

อ่านต่อ ...

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…

Hits:2391

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...

อ่านต่อ ...

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…

Hits:520

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

โครงงานดาราศาสตร์

โครงงานดาราศาสตร์

 

การประชุมวิชาการดาราศาสตรฺ์เพื่อเยาวชน ครั้งที่  1

001.การศึกษาระยะทางของเนบิวลาจากระยะเชิงมุม - โดยนางสาวจิณห์นิภา   เปลี่ยนสมัย   โรงเรียนเชียงคำวิทยาม

002.การหาพารามิเตอร์ของดาวคู่อุปราคา YZ  phe จากการวิเคราะห์ข้อมูลในโปรแกรม Phoebe - โดยนางสาวกชกร  สระโต โรงเรียนเชียงคำวิทยาคม

003.การศึกษา Intial Mass  Function ของกระจุกดาวปิด - โดยนางสาวสุทธิดา  เขื่อนแก้ว  โรงเรียนเชียงคำวิทยาคม

004.การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคาบการโคจรและศึกษาลักษณะทางกายภาพของระบบดาวคู่อุปราคาประเภท ดับเบิลยู เออร์ซา เมเจอริส v1853 โอไรออนิส - โดยนางสาวสาวิตรี  เดชศรีมนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

005.เวลาสุริยะปรากฏและสมการเวลาจากการสังเกตุการณ์ทางดาราศาสตร์ - โดยนางสาวขวัญกมล   จิตรตระกูล  โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย

006.การศึกษาคาบการแปรแสงของดาว IT CrA - โดยนางสาวภัทราพร   สิงคนิภา  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

007.การศึกษาค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงของดวงจันทร์โดยใช้ลักซ์มิเตอร์ - โดยนางสาวสุภิญญา   พูลเพิ่ม โรงเรียนสาธิตพิบูลบำเพ็ญ มหาวิทยาลัยบูรพา

008.การศึกษาและเปรียบเทียบความลึกของหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ที่คำนวณได้จากมุมอัลติจูดของดวงอาทิตย์บนหลุมอุกกาบาตที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา - โดยนางสาวชลิดา  วุฒิอนันต์  โรงเรียนสาธิตพิบูลบำเพ็ญ มหาวิทยาลัยบูรพา

009.การศึกษาขนาดของดาวเคราะห์น้อย - โดยนายณัฐชนนท์   จิตอารี โรงเรียนปัว จังหวัดน่าน

010.การศึกษาคาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก - โดยนางสาวปานชรี  อนุจร  โรงเรียนปัว จังหวัดน่าน

011.การศึกษาการหาระยะทางของกาแล็กซีด้วยการใช้ Supernovae ชนิด Ia - โดยนายชนสรณ์   พึ่งเงิน  โรงเรียนปัว จังหวัดน่าน

012.การหาอายุกาแล็กซี่ทางช้างเผือกโดยประมาณจาก H-R Diagram ของกระจุกดาวทรงกลม - โดย ด.ญ.นงนภัส  ว่านกระ  โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

013.การศึกษาคาบการโคจรดาวบริวารดาวพฤหัสบดี - โดยนายวชิระ  ยืนยง  โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

014.การศึกษาการเปลี่ยนแปลงระยะห่างระหว่างดวงจันทร์และโลก - โดยนางสาวสุพิชญา  อ่วมเถือน  โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

015.การศึกษาอัตราเร็วการหมุนและคาบการหมุนของวงแหวนดาวเสาร์ - โดยนางสาวสิดารัศม์  คำภักดี  โรงเรียนยโสธรพิทยาคม

016.การศึกษาหาความสูงของภูเขาและความลึกหลุมบนดวงจันทร์ - โดยนายชานนท์  ชูรัตน์  โรงเรียนยโสธรพิทยาคม

017.การศึกษาอุณหภูมิของดาวคู่อุปราคา DV Sgr - โดยนางสาวรุ่งรัตน์  สาระไทย  โรงเรียนหกสิบพรรษาวิทยาลัย

018.การศึกษาอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วในการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์น้อย 1 Ceres และ 4Vesta - โดยนางสาวกมลวรรณ  ด้วงกระยอม โรงเรียนหกสิบพรรษาวิทยาลัย

019.แบบจำลองปรากฎการณ์การเหวี่ยงของระบบหลุมดำมวลยวดยิ่งเมื่อเกิดปรากฏการณ์การชนกันของดาราจักรทางช้างเผือกและดาราจักรแอนโดเมดา - โดยนายณัฐกฤต  อ่อนอุทัย  โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

020.การศึกษาหาคาบการโคจรของดวงจันทร์ไอโอรอบดาวพฤหัสบดี - โดยนายกรชวัล  มีความรัก  โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

021.ความสัมพันธ์ระหว่างการวางตัวของปราสาทขอมกับเส้นทางเดินของดวงอาทิตย์ - โดยนายชูศักดิ์  เสนายอด  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

022.การวิเคราะห์เส้นสเปกตรัมแผ่รังสี 66 OpH - โดยนางสาวการปฐม  เกษรสุวรรณ  มหาวิทยาลัยนเรศวร

023.การทดลองเพื่อพิสูจน์และเปรียบเทียบหลักการอากาศพลศาสตร์ของจรวดในสภาวะใกล้เคียงอวกาศเทียบกับสภาวะปกติบนพื้นโลก - โดยนายตะวัน  ถิ่นถาวรกุล  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

024.การนำทางในระบบสุริยะด้วยพัลซาร์ - โดยนายจอมพจน์  วงศ์เพชรอักษร มหาวิทยาลัยเขียงใหม่

025.การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มของอัตราการกระพริบของดวงดาว - โดยนายปิยวัฒน์  บุตรสบัติ  โรงเรียนยโสธรพิทยาคม

026.การหาความหนาแน่นของจำนวนดาวฤกษ์ และการประเมินค่า Interstellar Extinction ในกาแล็กซีทางช้างเผือก - โดยนายรัชชานนท์  บัวรอด  โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฏิ์

027.ศึกษาคาบการโคจรของดาวคู่อุปราคา V357 Peg - โดยนางสาวรัตนาวดี    ฑีฆะวงษ์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

028.โครงงานการศึกษาการโคจรของดาวอุปราคา V396 Peg - โดยนางสาวมุกธิดา  ขำมี  โรงเรียนหกสิบพรรษาวิทยาคม จ.อุบลราชธานี

029.การวัดระยะทางจากโลกถึงกระจุกดาวทรงกลม โดยใช้ดาวแปรแสงแบบเซฟิอิด - โดยนางสาวบุษราคัม  นามยุดา  โรงเรียนหกสิบพรรษาวิทยาคม จ.อุบลราชธานี

030.การศึกษาระยะทางของกาแลกซี่และการขยายตัวของเอกภพโดยใช้ Supernova ประเภท Ia - โดยนายพลวัต  ย้อยฝอย  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

031.การคำนวณหาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของดวงอาทิตย์จากภาพถ่าย - โดยนายวิศรุต  ภิรมย์ชม  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 

 

การประชุมวิชาการดาราศาสตรฺ์เพื่อเยาวชน ครั้งที่  2

O01 The determination of the rotation period of the asteroids

O02 The lifetime and the area of the sunspots

O03 การศึกษาความเร็วและการเคลื่อนที่ของดาวหาง Catalina (C/2013 US10)

O04 การศึกษาโปรแกรมจำลองการเคลื่อนที่ตามกฏของ NEWTON

O05 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ จากระดับน้ำขึ้น-น้ำลง

O06 การศึกษาหามวลของดาวเสาร์ โดยใช้คาบการโคจรของวงแหวนดาวเสาร์

O07 การหาคาบและอัตราเร็วในการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์จากจุดบนดวงอาทิตย์ด้วยภาพถ่าย

O08 การศึกษาอุกกาบาตในประเทศไทย

O09 คำนวณความลึกของหลุมบนดวงจันทร์ด้วยความยาวเงาบนภาพที่ได้จากการถ่ายด้วยกล้องโทรทรรศน์

O10 การหาอายุและระยะห่างของกระจุกดาวเปิด โดยใช้แผนภาพ H-R

O11 การสร้าง H-R Diagram และวิเคราะห์ Initial Mass Function ของกระจุกดาวเปิดในกาแล็กซีทางช้างเผือก

O12 การศึกษาคาบและอุณหภูมิของระบบดาวคู่ Oph 1010

O13 การศึกษาค่าโชติมาตรปรากฏของดาวคู่อุปราคา V402 Aur ด้วยกล้องดิจิตอลชนิดสะท้อนเลนส์เดี่ยว

O14 การศึกษาคาบการโคจรของระบบดาวคู่อุปราคาแบบแตะกัน วี781 ทอรี ด้วยกล้องดิจิตอลแบบเลนส์เดี่ยว

O15 การศึกษาค่าโชติมาตรปรากฏของดาว โดยการทำโฟโตเมตรีด้วยกล้อง DSLR

O16 การหาระยะทางและขนาดที่แท้จริงของกระจุกดาวเปิด M6

O17 การหาอายุและระยะทางของกระจุกดาวทรงกลมและกระจุกดาวเปิด

O18 การศึกษาคาบการโคจร และมวลของระบบดาวคู่อุปราคา VY Cet

O19 การศึกษาคาบการแปรแสง ของดาวแปรแสง Z For

O20 การหามวลดาวคู่ V0395 And

O21 การศึกษาหาอายุขัยของกระจุกดาวเปิด NGC6716

O22 ความสัมพันธ์ระหว่างแมกนิจูดและอุณหภูมิพื้นผิวของกระจุกดาวคู่(NGC884&NGC869)

O23 การหาขนาดของกาแล็กซี่ โดยใช้ความสัมพันธ์ของระยะทางที่ได้จาก Supernova ชนิด Ia

O24 การเปรียบเทียบอัตราการเกิดของดาวฤกษ์มวลมากในกาแล็กซีกังหันกับกาแล็กซีทรงรี

O25 การศึกษาหาองค์ประกอบทางเคมีและสเปกตรัมในเนบิวลานายพราน

O26 การศึกษาความสัมพันธ์ของธาตุบนกาแล็กซี่แอนโดรเมดากับธาตุที่จำเป็นต่อการดำรงของสิ่งมีชีวิต

O27 การศึกษาการวางตัวของปราสาทขอมในประเทศไทยเทียบกับการขึ้นตกของดวงอาทิตย์

O28 การศึกษามลภาวะทางแสงบริเวณหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา

O29 การศึกษาค่าความคลาดเคลื่อนการวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของดวงอาทิตย์

O30 การวัดความสว่างของท้องฟ้า ด้วยกล้องถ่ายภาพแบบ DSLR

O31 การศึกษาการวัดเงาของดวงอาทิตย์ด้วย Gnomon

O32 การศึกษาผลกระทบของชั้นบรรยากาศต่อการกระพริบของแสงดาว

O33 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าฟลักซ์ของดาว กับมวลอากาศ (airmass)

O34 การศึกษาวัสดุแผ่นกรองแสงสำหรับการสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์

O35 การออกแบบและสร้างนาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร ในรูปแบบโมเดลกระดาษสำเร็จรูป

P36 การหาระยะห่างของดาวเนปจูนจากโลก ด้วยวิธีระยะห่างเชิงมุม

P37 การใช้ดัชนีสีคำนวณหาอายุกระจุกดาวเปิดที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า

P38 การศึกษาอัตราการขยายตัวของเอกภพในปัจจุบันโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างค่าการเลื่อนไปทางแดงและระยะห่างของกาแลกซี่

P39 การศึกษาท้องฟ้าด้วยแผนที่ดาวร่วมกับแอพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ

P40 การศึกษาจุดบนดวงอาทิตย์ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสงแบบดอบโซเนียน เส้นผ่านศูนย์กลาง 10 นิ้ว

P41 การศึกษาตำแหน่งของดาวเหนือ 

P42 การศึกษาฝนดาวตกในประเทศไทยในปี 2558

P43 การศึกษาการขึ้นตกของดาวพฤหัสบดี

P44 การศึกษาการเกิดข้างขึ้นข้างแรม

P45 การศึกษาการเกิดปรากฏการณ์ตะวันอ้อมข้าว

P46 การศึกษาการขึ้นและการตกของดวงอาทิตย์

P47 การศึกษาการขึ้นการตกและลักษณะของดวงจันทร์

P48 การศึกษาการขึ้นการตก และการค้นพบบนดาวอังคาร

P49 การประดิษฐ์เครื่องมือ/อุปกรณ์สังเกตวัตถุท้องฟ้า "แอสโตรเทเลสโคป"

P50 การวัดความยาวเส้นรอบวงโลกตามแนวเส้นแวง ในวันศารทวิษุวัติ

P51 การศึกษาเปรียบเทียบดิถีดวงจันทร์จากแบบจำลอง โปรแกรม WorldWide Telescope และการสังเกตท้องฟ้า

 

การประชุมวิชาการดาราศาสตรฺ์เพื่อเยาวชน ครั้งที่  3

O01 การศึกษาความสัมพันธ์ของจุดดำบนดวงอาทิตย์กับการลุกจ้า

O02 ศึกษาหาขนาดเชิงมุมของดวงอาทิตย์และระยะห่างจากโลกไปถึงดวงอาทิตย์

O03 การศึกษาจุดบนดวงอาทิตย์ด้วยกล้องโทรทรรศน์แบบดอปโซเนียน

O04 การศึกษาวงโคจรของดวงจันทร์ตามกฎข้อที่สองของเคปเลอร์    

O05 การหาคาบการโคจร ความรีวงโคจรดวงจันทร์ จากเวลาที่ดวงจันทร์ผ่านเมอร์ริเดียน

O06 การหาคาบการโคจร ความรีวงโคจรดวงจันทร์ จากขนาดเชิงมุมของดวงจันทร์    

O07 การศึกษาผลกระทบจากการละลายของน้ำแข็งขั้วโลก ที่ส่งผลต่อการหมุนของโลก

O08 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเฟสดวงจันทร์กับขนาดหลุมของตัวอ่อนแมลงช้าง

O09 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเฟสดวงจันทร์กับการออกดอกของแก้วมังกร

O10 การศึกษาความสัมพันธ์ของสัดส่วนเฟสดวงจันทร์กับปรากฏการณ์แสงโลก 

O11 การศึกษามุมเอียงดาวพฤหัสบดีเมื่อเทียบกับแนวเล็งของผู้สังเกต

O12 การพัฒนาความแม่นยำของการศึกษาภูเขาบนดวงจันทร์โดยวิธีของกาลิเลโอ    

O13 การหามวลของโลกโดยใช้คาบของดวงจันทร์จากปรากฎการณ์น้ำขึ้นน้ำลง และระยะห่างจากโลกถึงดวงจันทร์โดยอาศัยปรากฎการณ์สุริยุปราคา

O14 เวลาที่ดวงจันทร์หมุนรอบโลก

O15 การศึกษาพื้นที่ปรากฏของดวงจันทร์จากปรากฏการณ์ไลเบรชัน

O16 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่มีผลมาจากดวงจันทร์และดวงอาทิตย์

O17 การหาคาบโคจรของดวงจันทร์กาลิเลียนโดยใช้กล้องดรอปโซเนียน

O18   การค้นหาดาวเคราะห์เพิ่มเติมในระบบ GJ1214 ด้วยเทคนิคการเปลี่ยนแปลง เวลาการผ่านหน้า

O19 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคาบของระบบดาวคู่อุปราคาประเภท อัลกอลV* V1828 Aql

O20 การสร้างแบบจำลองของระบบดาวคู่ V1167 Her

O21 การหาดาวแปรแสงในกระจุกดาว NGC 7654

O22 การคำนวณหาวันที่ร้อนที่สุด  ณ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี

O23 การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกระพริบของดาว

O24 การศึกษาสีของแสงไฟที่ส่งผลต่อการกระเจิงของแสง

O25 กาลเทศะ

O26 การศึกษาโครงสร้างและการวางตัวของปราสาทหินพนมรุ้งเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ แสงทะลุประตู15ช่อง

O27 การศึกษาสสารมืดในกาแล็กซีโดยใช้ galactic rotation curve

O28 การหาระยะทางจากโลกถึงกาแล็กซี่แมกเจลแลนใหญ่และกาแล็กซี่แมกเจลแลนเล็ก โดยใช้ดาวเซฟิอิด

O29 การสร้างเครื่อง Spectroscopy ด้วยกล้อง DSLR

O30 การเขียนโปรแกรมจำลองวงโคจรของดาวเคราะห์

O31 โปรแกรมจำลองการเคลื่อนที่รายวันของวัตถุท้องฟ้า

P32 การศึกษาสเปกตรัมบนพื้นผิวดวงจันทร์ด้วยกล้อง DSLR

P33 การคาดการณ์ขนาดของค่าความกว้างและลึกของหลุมอุกกาบาตบนโลกโดยใช้

P34 การหาอัตราการหมุนของดวงอาทิตย์

P35 การศึกษาปรากฏการณ์ลูกไฟที่เกิดขึ้นในประเทศไทย

P36 การศึกษาค่าเฉลี่ยความกว้างของพื้นที่สะท้อนแสงของดวงจันทร์ที่เปลี่ยนไป ในหน่วยพิกเซล

P37 การศึกษาอัตราการหมุนของดวงอาทิตย์ โดยใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม SOHO

P38 การศึกษาอัตราการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์จากการสังเกตจุดบนดวงอาทิตย์

P39 การศึกษามุมเอียงของเงาดวงจันทร์กับละติจูดผู้สังเกต

P40 การระบุพิกัดภูมิศาสตร์โลกด้วยเสากำเนิดเงา

P41 ความสัมพันธ์ของเวลาขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ กับระยะเวลาที่แสงส่องสว่างบนโลก  และฤดูกาล

P42 การวัดระยะห่างของดวงจันทร์จากปรากฏการณ์สุริยุปราคาด้วยเทคนิค การหาระยะเชิงมุม

P43  การศึกษาความเข้มแสงของดวงอาทิตย์ ณ เวลาเที่ยงวันในเดือนมีนาคม-เมษายน

P44 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของค่าความเข้มแสงในแต่ละช่วงเวลา

P45 ศึกษาขนาดของเปลวสุริยะเพื่อเปรียบเทียบกับขนาดของโลก

P46 การหาองศาการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์และค่าเฉลี่ยการขึ้นของดวงอาทิตย์

P47 เวลาดวงอาทิตย์ขึ้นและตก

P48 การวัดความยาวเส้นรอบวงโลกตามแนวเส้นลองจิจูดในวันศารทวิษุวัต

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024  ETDA Banner 2567 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023

 

event banner 

    virtualtour