ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

Hits:1324

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...

อ่านต่อ ...

NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…

Hits:861

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...

อ่านต่อ ...

17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”

Hits:566

จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...

อ่านต่อ ...

กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”

Hits:1592

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...

อ่านต่อ ...

ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…

Hits:1509

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:4597

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:3781

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:2711

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:2202

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:9330

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:21795

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:15108

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:15645

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:17123

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4772

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4749

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:4473

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่

Hits:560

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...

อ่านต่อ ...

12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…

Hits:719

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...

อ่านต่อ ...

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…

Hits:2391

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...

อ่านต่อ ...

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…

Hits:520

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

รายละเอียดกิจกรรม

รายละเอียดกิจกรรม

“ค่ายดาราศาสตร์สำหรับชมรมดาราศาสตร์ในโรงเรียน”

    ค่ายดาราศาสตร์สำหรับชมรมดาราศาสตร์ในโรงเรียน จัดขึ้นในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน ของทุกปี โดยมุ่งเน้นให้เกิดทักษะการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และสามารถหาแนวทางใหม่ๆสำหรับการจัดกิจกรรมในชมรมดาราศาสตร์ของโรงเรียนได้ ภายในค่ายฯผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้สัมผัสกับการเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้แก่เพื่อนๆ รวมถึงฝึกการสังเกตการณ์และถ่ายภาพทางดาราศาสตร์จาก ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งประสบการณ์ที่ได้รับ ทั้งนี้กิจกรรมตลอดระยะเวลา 4 วัน 3 คืน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ กิจกรรมภาคบรรยาย และกิจกรรมภาคปฎิบัติ โดยมีรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้


 กิจกรรมภาคบรรยาย

หัวข้อบรรยาย : ทรงกลมท้องฟ้า ระบบพิกัดท้องฟ้า และการใช้งานแผนที่ดาว

IMG 0226 P7310142 ทรงกลมฟ้า


รายละเอียด : การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับทรงกลมท้องฟ้า ระบบพิกัดท้องฟ้าและหลักการเคลื่อนที่ของวัตถุบนท้องฟ้าอย่างง่าย มีประโยชน์อย่างมากต่อการจัดกิจกรรมดูดาวและการใช้งานกล้องโทรทรรศน์แบบequatorial  ซึ่งความรู้ความเข้าใจที่มากขึ้นจะช่วยสำหรับการจัดกิจกรรมดูดาวและค้นหาวัตถุท้องฟ้าที่มีความสว่างน้อยๆด้วยกล้องโทรทรรศน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


หัวข้อบรรยาย : การติดตั้ง ใช้งาน และการบำรุงรักษากล้องโทรทรรศน์

17636898 10208929341686108 3917442268343987114 o 17637133 10208929598812536 6956715547612887344 o การติดตั้ง


รายละเอียด : การเรียนรู้เกี่ยวกับการติดตั้งและใช้งานกล้องโทรทรรศน์แบบequatorial  รวมถึงหลักการทำงานต่างๆของกล้อง โทรทรรศน์แต่ละประเภท ก่อนที่จะได้ฝึกปฎิบัติและได้สัมผัสกล้องโทรทรรศน์ด้วยตัวเองต่อไป


หัวข้อบรรยาย : แนวทางการจัดกิจกรรมชมรมดาราศาสตร์

17632367 10208931263094142 7372821694784964708 o 29792281 1599950883386737 605099207686094848 o กิจกรรมภายใน


รายละเอียด : การถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากเจ้าหน้าที่ทีมงานNARIT จากการทำงานด้านการจัดกิจกรรมและการสื่อสารทางดาราศาสตร์มากกว่า 10 ปี ทั้งในและนอกประเทศ  น้องจะได้เรียนรู้แนวทางการจัดกิจกรรมภายในชมรมดาราศาสตร์ที่นอกเหนือจากการจัดกิจกรรมดูดาวตอนกลางคืน นาทีนี้ใครอยากได้ไอเดียใหม่ไปฝากเพื่อนในชมรม บอกเลยว่าพลาดไม่ได้!


หัวข้อบรรยาย : ภาพถ่ายทางดาราศาสตร์

29793559 1599943640054128 3649495760803725312 o 30127110 1599943416720817 4335849302984228864 o ภาพถ่ายทางดาราศาสตร์


รายละเอียด : การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ ทั้งปรากฏการณ์ต่างๆทางดาราศาสตร์ วัตถุในห้วงอวกาศลึก หรือ ภาพเส้นแสงดาว ผู้อบรมจะได้เรียนรู้เทคนิกการถ่ายภาพ การปรับใช้งานกล้องถ่ายภาพ DSLR รวมถึงการ Process ภาพถ่าย บอกได้เลยว่าใครที่ไม่ได้นำกล้องถ่ายภาพไปด้วยคงจะอดได้ลองภาพสวยๆกลับบ้านอย่างแน่นอน 


หัวข้อบรรยาย : แนวทางการสื่อสารวิทยาศาสตร์ต่อสาธารณะชน

17545410 10208896604667703 6591089040424548881 o 17545611 10208896608587801 7956121058182643015 o แนวทางการสื่อสาร


รายละเอียด : การเรียนรู้แนวทางการสื่อสารต่อหน้าสารธารณะชน ผู้เข้าร่วมค่ายฯจะร่วมหัดบรรยายให้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคนิคการเตรียมตัวก่อนนำเสนอในรูปแบบต่างๆ  เพื่อให้การบรรยายสำหรับกิจกรรมถัดไปของน้องๆในชมรมมีความน่าสนใจและผู้รับฟังเกิดความสนุกสนานกับเรามากยิ่งขึ้น


หัวข้อกิจกรรม : การสืบค้น โปรแกรม, Application ดาราศาสตร์

29791737 1599945116720647 4972633042758664192 o 30127301 1599942720054220 7107111370872586240 o การสืบค้น


รายละเอียด : การเรียนรู้การสืบค้นและหาความรู้ทางดาราศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาในห้องเรียน/นอกห้องเรียนหรือศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆทางดาราศาสตร์ใหม่ๆที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน รวมทั้งน้องๆจะได้รู้จัก application ในโทรศัพท์มือถือและโปรแกรมทางดาราศาสตร์ที่จะช่วยในการย้อนดูเหตุการณ์สำคัญทางดาราศาสตร์ทั้งในอดีตและปัจจุบัน และอีกด้วย


 

หัวข้อกิจกรรม : การฝึกใช้งานกล้องโทรทรรศน์แบบ Equatorial Mount และการทำโครงงานดาราศาสตร์อย่างง่าย (สำหรับครูที่ปรึกษา)

001 002 003


รายละเอียดกิจกรรม : การฝึกอบรมครูที่ปรึกษาให้มีความพร้อมและสามารถนำนักเรียนได้ตลอดกิจกรรม ครูที่ปรึกษาจะได้รับการเทรนจากเจ้าหน้าที่NARIT อย่างเข้มข้น ทั้งการตั้งกล้องโทรทรรศน์ การทำอุปกรณ์ดาราศาสตร์ รวมไปถึงโครงงานอย่างง่ายที่สามารถทำได้ในค่าย และต่อยอดเป็นโครงงานเล็กๆไว้ทำในชมรมที่โรงเรียน เรียกได้ว่า นักเรียนได้เท่าไหร่ ครูที่ปรึกษาได้มากกว่าแน่นอน


กิจกรรมภาคปฎิบัติ

หัวข้อกิจกรรม : การนำเสนอกิจกรรมในชมรมดาราศาสตร์

IMG 0566 IMG 0599 IMG 0655

 

รายละเอียด : การนำเสนอกิจกรรมที่เคยดำเนินมาภายในชมรมดาราศาสตร์ของแต่ละโรงเรียน น้องๆจะได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และได้รับไอเดียใหม่จากเพื่อนต่างโรงเรียน เพื่อที่จะได้นำสิ่งเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้  หรือปรับให้เหมาะสมกับกิจกรรมของตนเองที่จะทำต่อไปในอนาคต

หัวข้อกิจกรรม : กิจกรรมสันทนาการ โดยชุมนุมดาราศาสตร์

29790936 1599942123387613 5079388002543730688 o 30221372 1599936813388144 2633900157539713024 o สันทนาการ


รายละเอียด : กิจกรรมสันทนาการโดยชมรมดาราศาสตร์แต่ละโรงเรียน กิจกรรมที่จะทำให้เพื่อนๆในค่ายรู้จักกันและสนิทกันมากขึ้น น้องที่จะเข้าค่ายจงเตรียมสันทนาการของตัวเองเอาไว้ให้พร้อม เพราะเราจะสลับกันสันทนาการกันตลอด 4 วัน 3 คืน  ตั้งแต่เช้ายันเย็นกันเลยทีเดียว


หัวข้อกิจกรรม : กิจกรรมการเรียนรู้การใช้งานอุปกรณ์พื้นฐานทางดาราศาสตร์

30127329 1599495156765643 899417081504595968 o IMG 0701 IMG 0750

รายละเอียด : การฝึกใช้อุปกรณ์พื้นฐานทางดาราศาสตร์ เพื่อเช็คความเข้าใจและพร้อมต่อยอดไปยังทักษะที่สูงกว่า กิจกรรมนี้จะแบ่งเป็นกิจกรรมย่อย ได้แก่ ฝึกใช้งานกล้องโทรทรรศน์ดรอปโซเนียน ฝึกการใช้งานแผนที่ดาวชนิดเส้นขอบฟ้าและชนิด Messier&Calwell และการใช้งานกล้องสองตา


หัวข้อกิจกรรม : การประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้ทางดาราศาสตร์

30222361 1599476703434155 6476263778412396544 o IMG 1543 IMG 1604


รายละเอียด : เรื่องบางเรื่องเหมาะแต่การนั่งฟังและขีดเขียนใส่เศษกระดาศเพื่อบันทึกและทำความเข้าใจ แต่เรื่องบางเรื่องเหมาะกับการลงมือทำและเรียนรู้เมื่อมือได้สัมผัสกับชิ้นส่วนอุปกรณ์ การเรียนรู้การทำอุปกรณ์ดาราศาสตร์ สำหรับเป็นสื่อในการเรียนการสอน หรือทำสิ่งประดิษฐ์เพื่อต่อยอดความรู้เดิม อยากรู้ว่าทำอะไรบ้าง สมัครมาเลย...


หัวข้อกิจกรรม : การติดตั้งใช้งานกล้องโทรทรรศน์แบบ Equatorial Mount (สำหรับนักเรียนและครูที่ปรึกษา) 

17434714 10208896654428947 3223382407283866379 o IMG 0933 ฝึกตั้งกล้อง


รายละเอียด : กิจกรรมสำคัญที่หาที่ไหนไม่ได้ในประเทศไทย เพราะเราจะนำชุดกล้องโทรทรรศน์มาให้น้องๆได้ประกอบและให้เล่นเองกับมือ พร้อมทีมเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญการใช้งานกล้องโทรทรรศน์ประจำกลุ่ม สำหรับให้คำปรึกษาและดูแลอย่างใกล้ชิด การันตรีไว้เลยว่า น้องนักเรียนและคุณครูสามารถตั้งกล้องดูดาวและใช้งานกันคล่องกันอย่างคล่องแคล่วอย่างแน่นอน


หัวข้อกิจกรรม : การวางแผนการจัดกิจกรรมดูดาว

30124752 1599949133386912 567602816047120384 o 30128015 1599950270053465 5435366939419475968 o การวางแผน


รายละเอียด : การฝึกวางแผนการจัดกิจกรรมดูดาวหรือกิจกรรมที่เกิดเหตุการณ์การสำคัญต่างๆทางดาราศาสตร์ มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการเตรียมตัวและวางแผนกิจกรรมที่จะจัดขึ้นให้เพื่อนในโรงเรียนหรือชาวบ้านที่อาศัยในชุมชนโดยรอบ


หัวข้อกิจกรรม : เยี่ยมชมหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา (หอดูดาวแห่งชาติ)

30221726 1599959620052530 5759938799094202368 o IMG 1930 IMG 1938


รายละเอียด : ทัศนศึกษาเพื่อเยี่ยมชมหอดูดาวที่ใหญ่โตและทันสมัยที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียนรู้หลักการทำงานของกล้องโทรทรรศน์ และสัมผัสพื้นที่ทำงานของนักดาราศาสตร์อย่างใกล้ขิด


หัวข้อกิจกรรม : การฝึกการจัดกิจกรรมดูดาวและการสังเกตวัตถุท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์

001 002 003


รายละเอียด : กิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมทุกคนจะได้มีโอกาสฝึกตั้งกล้องโทรทรรศน์และส่องดูดาวในพื้นที่ที่อยู่ใต้ท้องฟ้าที่สวยที่สุดในประเทศไทยสัมผัสกับวัตถุท้องฟ้าสวยๆผ่านกล้องโทรทรรศน์พร้อมทั้งฝึกบรรยายท้องฟ้าจริงด้วยตัวเอง บอกเลยสนุกแน่


 หัวข้อกิจกรรม : การสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์

17504657 10208896719190566 4561220675768838280 o ดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์1


รายละเอียด : ดวงดาวไม่ได้มีให้ดูแค่เวลากลางคืนเท่านั้น เวลากลางวันเราจะมาฝึกการใช้กล้องโทรทรรศน์เพื่อส่องดูดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกที่สุด นั่นก็คือ “ดวงอาทิตย์” ที่น่าสนใจคือถ้าสังเกตดีๆจะเห็นว่าในบางครั้งเราจะมองเห็นจุดบนผิวดวงอาทิตย์  และถ้าลองเทียบขนาดของจุดบนดวงอาทิตย์ดีๆ จะพบว่ามันใหญ่กว่าโลกที่เราอาศัยอยู่ด้วยซ้ำ!


หัวข้อกิจกรรม : การสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้าช่วงเช้ามืด

29793614 1599960186719140 1017332939010080768 o 29793800 1599959240052568 4636800831100813312 o IMG 0469


รายละเอียด : โอกาสพิเศษในค่ำคืนสุดท้ายก่อนลงจากดอยอินทนนท์ เราจะพาน้องๆมาสังเกตการณ์หมู่ดาวในช่วงเช้ามืด ให้สัมผัสกับความเหน็บหนาวให้ถึงใจก่อนเตรียมตัวแยกย้ายกลับบ้าน ไฮไลท์ที่สุดคงหนีไม่พ้นการถ่ายภาพคู่กับทางช้างเผือก (Milky way) ที่เป็นเหมือนสัญลักษณ์ยืนยันเอาไว้ว่า ครั้งหนึ่งเราถึงดอยอินทนนท์แล้ว .... 


หัวข้อกิจกรรม : กิจกรรมเดินป่าศึกษาธรรมชาติ ณ กิ่วแม่ปาน และเดินชมเจดีย์คู่ “นภเมทนีดล นภพลภูมิสิริ"

กิ่วแม่ปาน IMG 2024 29791317 1599960966719062 1387354580697743360 o


รายละเอียด : กิ่วแม่ปาน เส้นทางศึกษาธรรมชาติที่สวยติดอันดับต้นๆของประเทศไทย เส้นทางผ่านพื้นที่ป่าเมฆที่มีความอุดมสบบูรณ์ทางระบบนิเวศเป็นอย่างมาก รวมไปเดินชมความสวยงามของธรรมชาติและดอกไม้เมืองหนาวได้ที่ เจดีย์คู่ “นภเมทนีดล นภพลภูมิสิริ” บอกเลยว่า พลาดแล้วจะเสียดายนะครับ

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024  ETDA Banner 2567 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023

 

event banner 

    virtualtour