ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

8 กันยายนนี้ ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

Hits:1393

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย 8 กันยายน 2567 “ดาวเสาร์ใกล...

อ่านต่อ ...

NARIT ชวนท่องอาณาจักรดวงจันทร์ พากลับไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง 16-25 สิ…

Hits:939

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนทุกคนทะยานสู่อวกาศ ท่องอาณาจั...

อ่านต่อ ...

17 สิงหาคมนี้ ชวนฟัง #เสวนาพิเศษ “ทิศทาง-อนาคต ดาราศาสตร์และอวกาศไทย”

Hits:643

จากการก่อตั้งภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium หรือ TSC) เพื่อสร้างดาวเทียมวิจัยวิทยาศาสตร์ฝีมือคนไทย สู่โอกาสในการพัฒนาคน ตลอดจนเส้นทางต...

อ่านต่อ ...

กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี 21 มิถุนายนนี้ “วันครีษมายัน”

Hits:1657

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยวันที่ 21 มิถุนายน 2567 เป็น ...

อ่านต่อ ...

ก้าวไปอีกขั้น! กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ เชื่อมต่อกล้องโทรทรรศน์วิทย…

Hits:1584

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันดาราศาสตร์วิทยุมัก...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:4690

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:3885

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:2798

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:2270

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:9412

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:21882

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:15235

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:15726

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:17194

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4834

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4820

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:4567

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

12 สิงหาคมนี้ ลุ้นชม “ฝนดาวตกเพอร์เซอิดส์” คืนวันแม่

Hits:628

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยคืนวันแม่ 12 สิงหาคม ถึงรุ่งเ...

อ่านต่อ ...

12-18 สิงหาคมนี้ ชวนเที่ยว “NARIT SCIENCE WEEK 2024” งานสัปดาห์วิทยาศา…

Hits:781

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชวนเที่ยวงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห...

อ่านต่อ ...

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจ…

Hits:2496

ประกาศผลการตัดสินการประกวดภาพถ่ายดาราศาสตร์ ประจำปี 2567 หัวข้อ “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ...

อ่านต่อ ...

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการ…

Hits:590

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ท้องฟ้าจำลอง การศึกษา และการสื่อสารดาราศาสตร์ ระดับนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

2019

ติดต่อ

ศูนย์บริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์ 

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) 

อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร เลขที่ 260 หมู่ 4 ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180

เบอร์โทร : 053-121268, 053-121269 ต่อ 305  (วันและเวลาทำการ)

โทรสาร : 053-121250

ผู้ดูแลงานประชุมวิชาการฯ

 1. นายคมสันต์  ธุรี เจ้าหน้าที่สารสนเทศดาราศาสตร์ชำนาญการ
  โทรศัพท์ : 088-252-4424
   
 2. นายเจษฎา  กีรติภารัตน์ เจ้าหน้าที่สารสนเทศดาราศาสตร์
  โทรศัพท์ : 087-567-0389
   
3. นางสาวศวัสกมล  ปิจดี เจ้าหน้าที่สารสนเทศดาราศาสตร์
  โทรศัพท์ : 094-748-6515

                               

                                                         

             

                                                        

                     

                                                         

การบรรยายพิเศษ

Coming Soon...

สถานที่และการเดินทาง

สถานที่และการเดินทาง

การประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 4 หรือ “The 4th Thai Astronomical Conference (Student Session)” จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 – 3 ธันวาคม 2560 ณ โรงแรมคุ้มภูคำ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ซึ่งเป็นโรงแรมในการจัดประชุมสัมมนา รองรับผู้เข้าร่วมการประชุมสัมมนาได้หลายรูปแบบ พร้อมที่พักและพื้นที่บริการโดยรอบอย่างสมบูรณ์ โดยการนำเสนอผลงานแบบบรรยาย จัดขึ้น ณ ห้องประชุมสวรรคโลก และการนำเสนอผลงานในรูปแบบโปสเตอร์ จัดขึ้นในบริเวณโรงแรมคุ้มภูคำเช่นเดียวกัน

สถานที่จัดประชุม

venue 01

โรงแรมคุ้มภูคำ

venue 02

ห้องประชุมสวรรคโลก โรงแรมคุ้มภูคำ

การเดินทางไปยังโรงแรม: สามารถเดินทางไปยังโรมแรมจากสถานีขนส่งอาเขต, สถานีรถไฟเชียงใหม่ และสนามบินเชียงใหม่ได้ ด้วยบริการรถรับจ้างสี่ล้อแดง หรือ Grab Taxi 

บริการรถรับส่งจากสนามบิน: รถรับส่งฟรี สำหรับผู้ที่จองที่พักกับทางโรงแรม เฉพาะขาไปจากสนามบินถึงโรงแรมเท่านั้น (ควรแจ้งประสานกับทางโรงแรมก่อน)

ที่อยู่: 14/23 ถนนคลองชลประทาน ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.ชียงใหม่ 50300

เว็บไซด์: http://www.khumphucome.com/th

โทรศัพท์: (+66) 53 400 450 - 2 

E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

อัตราค่าห้องพัก : 1,200 – 3,000 บาท/คืน (กรณีผู้เข้าร่วมท่านอื่นสนใจเข้าพัก)รายชื่อโรงแรมที่อยู่ใกล้เคียงกับสถานที่จัดประชุม

venue 03

แผนที่แสดงตัวอย่างโรงแรมอื่นๆที่อยู่ใกล้เคียงสถานที่จัดงานประชุมวิชาการ (โรงแรมคุ้มภูคำ)

1. โรงแรมห้วยแก้ว พาเลซ 2

venue 04

อัตราค่าห้องพัก: 900 บาท/คืน (ห้องมาตรฐาน), 1,000 บาท/คืน (ห้องซูพีเรีย), 1,200 บาท/คืน (ห้องวีไอพี)

เว็บไซต์: http://www.huaykaewpalace.com/index.php?mo=10&art=656563

โทรศัพท์: (+66) 53-212-047, (+66) 53-893-207

บริการรถรับส่งจากสถานีขนส่ง/สถานีรถไฟ/สนามบิน: ไม่มี

2. โรงแรมเบด ช่างเคี่ยน

venue 05

อัตราค่าห้องพัก: 1,050 บาท/คืน (ทั้งห้องแบบเตียงคู่และเตียงใหญ่), 1,550 บาท (ห้อง 3 คน)

เว็บไซต์: https://apac.littlehotelier.com/properties/bedchangkiandirect (ภาษาอังกฤษ)

โทรศัพท์: (+66) 53-217-300

บริการรถรับส่งจากสนามบิน: 200 บาท/เที่ยว (ราคาเหมารถแดง), 250 บาท/เที่ยว (ราคาเหมารถแท็กซี่) 

3. โรงแรม วี เรสซิเดนซ์ เชียงใหม่

venue 06

อัตราค่าห้องพัก: 990 บาท/คืน (ทั้งห้องเตียงคู่ และเตียงใหญ่สำหรับ 2 ท่าน)

เว็บไซต์: http://www.vresidencechiangmai.com/ 

โทรศัพท์: (+66) 53-226-602

บริการรถรับส่งจากสนามบิน: ไม่มี

4. โรงแรมไอบิส สไตล์ เชียงใหม่

อัตราค่าห้องพัก: 1,896 บาท/คืน (ทั้งห้องเตียงคู่ และเตียงใหญ่สำหรับ 2 ท่าน)

เว็บไซต์: http://www.ibis.com/gb/hotel-8108-ibis-styles-chiang-mai/index.shtml (ภาษาอังกฤษ)

โทรศัพท์: (+66) 53-908-888

บริการรถรับส่งจากสนามบิน: เริ่มต้น 200 บาท/เที่ยว (กรณี 2 คน) จนถึง 500 บาท/เที่ยว (กรณี 10 คน)

5. โรงแรมเชียงใหม่ภูคำ

venue 07

อัตราค่าห้องพัก: 1,300 บาท/คืน (ห้องมาตรฐาน) 1,500 บาท/คืน (ห้องดีลักซ์)

เว็บไซต์: http://www.phucome.com/thai/index.html 

โทรศัพท์: (+66) 53-211-026-31

บริการรถรับส่งจากสถานีขนส่ง/สถานีรถไฟ/สนามบิน: รถรับส่งฟรี สำหรับผู้ที่จองที่พักกับทางโรงแรม เฉพาะขาไปจากสนามบินถึงโรงแรมเท่านั้น (ควรแจ้งประสานกับทางโรงแรมก่อน) ส่วนขากลับจากโรงแรมถึงสนามบิน ท่านละ 120 บาท

6. โรงแรมห้วยแก้ว พาเลซ 1

venue 08

อัตราค่าห้องพัก: 900 บาท/คืน (ห้องมาตรฐาน), 1,000 บาท/คืน (ห้องซูพีเรีย), 1,200 บาท/คืน (ห้องวีไอพี)

เว็บไซต์: http://www.huaykaewpalace.com/index.php?mo=10&art=425129 

โทรศัพท์: (+66) 53-212-047, (+66) 53-893-207

บริการรถรับส่งจากสถานีขนส่ง/สถานีรถไฟ/สนามบิน: ไม่มี

7. โรงแรมเชียงใหม่ ฮิลล์

venue 09

อัตราค่าห้องพัก: 950 บาท/คืน (ห้องคอมแพ็ก), 1,025 บาท/คืน (ห้องสตูดิโอ), 1,100 บาท/คืน (ห้องพรีเมียร์), 1,400 บาท/คืน (ห้องสแตนดาร์ด ทั้งเตียงคู่และเตียงใหญ่), 1,600 บาท/คืน (ห้องซูพีเรีย)

เว็บไซต์: http://www.chiangmaihillhotel.com/ 

โทรศัพท์: (+66) 53-218-960-3

บริการรถรับส่งจากสถานีขนส่ง/สนามบิน: 150 บาท/เที่ยว/คน (ในกรณีสนามบิน 100 บาท/เที่ยว/คน หากมากันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป)

8. โรงแรมฮอลิเดย์ การ์เดน

venue 10

อัตราค่าห้องพัก: 1,100 บาท/คืน (ห้องซูพีเรีย), 1,300 บาท/คืน (ห้องเอ็กเซ็กคิวทีฟ ซูพีเรีย), 1,450 บาท/คืน (ห้องเอ็กเซ็กคิวทีฟ เดอลุกซ์)

เว็บไซต์: http://www.holidaygardenhotelandresort.com/index.php 

โทรศัพท์: (+66) 53-211-333, (+66) 53-210-901-4

บริการรถรับส่งจากสถานีขนส่ง/สถานีรถไฟ/สนามบิน: 120 บาท/เที่ยว/คน

ลงทะเบียน

 ลงทะเบียน ผู้นำเสนอผลงาน
(Registration Form for Presentation )
ลงทะเบียน ผู้ไม่นำเสนอผลงาน
(Registration Form for Audience)
 
  • การลงทะเบียนแบบนำเสนอผลงานขอสงวนสิทธิ์สำหรับนักเรียน/นักศึกษาและครูที่ปรึกษาโครงงานดาราศาสตร์ในรูปแบบบรรยายและโปสเตอร์เท่านั้น
  • ผู้ลงทะเบียนแบบนำเสนอผลงานต้องส่งบทคัดย่อ, รายงานฉบับสมบูรณ์และเตรียมการนำเสนอผลงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
  • ผลงานที่ได้รับการคัดเลือกจะได้รับการสนับสนุนค่าลงทะเบียนค่าที่พักและค่าอาหารระหว่างเข้าร่วมการนำเสนอผลงาน (ตามระเบียบที่สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติกำหนด)
  • ผู้นำเสนอผลงานจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าจัดพิมพ์โปสเตอร์
  • การลงทะเบียนแบบไม่นำเสนอผลงานขอสงวนสิทธิ์สำหรับนักเรียน/นักศึกษาบุคลากรที่เกี่ยวข้องทางด้านดาราศาสตร์เท่านั้น
  • ผู้ลงทะเบียนแบบไม่นำเสนอผลงานสามารถเข้าฟังการนำเสนอผลงานทั้งรูปแบบการบรรยายและโปสเตอร์
  • ผู้ลงทะเบียนแบบไม่นำเสนอผลงานจะได้รับการสนับสนุนค่าลงทะเบียนและค่าอาหารกลางวันระหว่างเข้าร่วมการนำเสนอผลงาน
  • ผู้นำเสนอผลงานจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางค่าที่พัก

**หมายเหตุ** ผู้ลงทะเบียนที่สองแบบมีสิทธิ์ในการเข้าร่วมฟังบรรยายพิเศษ (คลิ๊กที่นี่) ได้โดยไม่ต้องลงทะเบียนเพิ่มเติม

กำหนดการนำเสนอผลงาน

รูปแบบการนำเสนอ

รูปแบบการนำเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation)

1) ผู้นำเสนอแบบบรรยาย(Oral Presentation) ต้องเตรียม PowerPoint นำเสนอโครงงานโดยมีรายละเอียดดังนี้

- Slide จำนวนไม่จำกัดหน้า (ส่งSlideวันนำเสนอผลงาน)

- เวลานำเสนอไม่เกิน 8 นาที ซักถาม 7 นาที รวมเป็นหัวข้อละ 15 นาที(บนเวที)

2) ผู้นำเสนอผลงานเตรียมเนื้อหานำเสนอในรูปแบบ PowerPoint ดังนี้

1.1) บทนำ/ที่มาความสำคัญ

1.2) วัตถุประสงค์

1.3) วิธีการศึกษา

1.4) ผลการศึกษา

1.5) สรุปผล

3) นำเสนอผลงานตามเวลาที่ทางคณะกรรมการกำหนดไว้อย่างเคร่งครัด (เวลานำเสนอไม่เกิน 8 นาที)

4) ผู้นำเสนอแบบบรรยาย(Oral Presentation) ต้องเตรียมโปสเตอร์มาเองสำหรับนำเสนอในช่วงเวลานำเสนอโปสเตอร์ด้วย

 

รูปแบบการนำเสนอโปสเตอร์ (Poster Presentaion)

1) ผู้นำเสนอต้องแนะนำภาพรวมของโครงงานในรูปแบบ PowerPoint (Poster Review)

- Slide จำนวน 1 หน้า (ส่งSlideวันนำเสนอผลงาน)

- เวลานำเสนอไม่เกิน 1 นาที (บนเวที)

2) ผู้นำเสนอต้องเตรียมโปสเตอร์มาเองโดยมีรายละเอียดดังนี้ 

- ความกว้างxความยาว :  90 x 120 ซม.

- ตัวอักษรไม่เล็กจนเกินไป และไม่กลืนไปกับพื้นหลัง สามารถอ่านได้ง่าย

present 01

ตัวอย่างการนำเสนอโปสเตอร์

การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ (Full Paper)

          ผู้นำเสนอผลงานทั้งสองรูปแบบ (Oral presentation และ Poster presentation) ต้องเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ (Full paper) และส่งรายงานพร้อมแบบยืนยันการเข้าร่วมนำเสนอผลงานมายังคณะกรรมการ ภายในเวลาที่กำหนด โดยมีรูปแบบการเขียนรายงานดังนี้

1. จำนวนรายงานไม่เกิน 4 หน้า (ขนาดกระดาษ A4)

2. การตั้งค่าหน้ากระดาษ ตัวอย่างรูปแบบการเขียนรายงาน คลิกที่นี่

- ขอบบน 3 ซม. 

- ขอบล่าง 2.5 ซม. 

- ขอบซ้าย 3 ซม.

- ขอบขวา 2.5 ซม

3. แบบอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 pt 

*** ส่งบทความฉบับสมบูรณ์ มาที่ This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. ภายในวันที่ 8 มิถุนายน 2562 *** 

เกี่ยวกับโครงการ

          สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี    ในฐานะที่เป็นองค์กรที่มีพันธกิจสำคัญในการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือทางด้านดาราศาสตร์ระหว่างหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ เพื่อดำเนินงานด้านการวิจัย การผลิตบัณฑิต การสร้างมาตรฐานทางวิชาการด้านดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของประเทศ  ตลอดจนการให้บริการวิชาการด้านดาราศาสตร์   โดยการถ่ายทอดความรู้และปลูกฝังจิตวิทยาศาสตร์ผ่านกิจกรรมด้านดาราศาสตร์ ซึ่งทางสถาบันฯ  ได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องในการจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ ครู อาจารย์ นักเรียน และเยาวชน รวมไปถึงประชาชนผู้สนใจ เพื่อให้รับทราบองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับดาราศาสตร์ มีโอกาสแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้ใหม่ทางด้านดาราศาสตร์ เพื่อเป็นการตอบสนองภารกิจของสถาบันฯ  ในการพัฒนากำลังคนทางดาราศาสตร์ของประเทศ ให้เป็นกำลังสำคัญในการสร้างความตระหนักและความตื่นตัวทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

          สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ  (องค์การมหาชน)  ได้จัดให้มี “การประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 6” ขึ้น เพื่อเป็นเวทีในการนำเสนอผลงานทางด้านดาราศาสตร์ของเด็กและเยาวชนของประเทศ เป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางดาราศาสตร์โดยอาศัยกระบวนการศึกษาค้นคว้าวิจัยและการทำโครงงานดาราศาสตร์อย่างง่าย ซึ่งกระบวนการค้นคว้าในรูปแบบบยุววิจัยดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติได้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในรูปแบบของโครงการอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านดาราศาสตร์ขั้นสูง โดยมุ่งเน้นให้มีการอบรมและส่งเสริมให้มีการศึกษาค้นคว้าด้านโครงงานดาราศาสตร์ในโรงเรียน โดยให้ครูเป็นที่ปรึกษาให้กับนักเรียนในการศึกษาค้าคว้าด้านดาราศาสตร์ในโรงเรียน เป็นจุดกำเนิดของการศึกษาค้นคว้าวิจัยและโครงงานดาราศาสตร์ขั้นพื้นฐานในโรงเรียน และเกิดความแพร่หลายมากขึ้นในอาคต งานยุววิจัยด้านดาราศาสตร์ที่มีเพิ่มมากขึ้นในอนาคตจะได้มีเวทีสำหรับนำเสนอผลงานด้านดาราศาสตร์ในระดับประเทศในอนาคตต่อไป ซึ่งเวทีนี้จะเป็นเวทีหลักในการนำเสนอผลงานดาราศาสตร์ในระดับเยาวชนของประเทศต่อไป

วัตถุประสงค์

1. เพื่อเป็นเวทีในการนำเสนอผลงานวิชาการทางดาราศาสตร์สำหรับนักเรียนและเยาวชนของประเทศ

2. เพื่อให้นักเรียนและเยาวชน ได้ฝึกฝนและเรียนรู้ดาราศาสตร์ผ่านงานวิจัยและโครงงานดาราศาสตร์พื้นฐาน

3. เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนและเยาวชนได้มีโอกาสฝึกประสบการณ์การนำเสนอผลงานด้านดาราศาสตร์ในระดับประเทศ

4. เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวเอง ผ่านกระบวนการศึกษาแบบโครงงานและการวิจัยดาราศาสตร์ขั้นพื้นฐาน

5. เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายงานวิจัยดาราศาสตร์ในระดับยุววิจัยและก้าวสู่เครือข่ายงานวิจัยดาราศาสตร์ในระดับนานาชาติต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

การประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 6 รับสมัครผู้เข้าร่วมการประชุมวิชาการ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

1. ผู้เข้าร่วมนำเสนอผลงานวิชาการดาราศาสตร์ จำนวน 40 เรื่อง
(นักเรียนหรือนักศึกษา)
   
 2. ผู้เข้าร่วมฟังการนำเสนอผลงาน (โดยไม่นำเสนอผลงาน)  จำนวน 100 คน
(นักเรียนหรือครูที่สนใจทางด้านดาราศาสตร์)
   
3. ผู้เข้าร่วมรับฟังการบรรยายพิเศษ จำนวน 200 คน
(ครู นักเรียน และประชาชนทั่วไป)


1.โครงการประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 6

2.กำหนดการ โครงการประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 6

 


         

                    

         

                                                      

         

หน้าแรก

ข่าวสาร

- 22 กุมภาพันธ์ 2562 / เปิดรับสมัครและส่งบทคัดย่อ (Abstract) ตั้งแต่วันนี้ – 10 พฤษภาคม 2562 คลิกที่นี่

- 22 กุมภาพันธ์ 2562 / ยินดีต้อนรับสู่งานการประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 6

กำหนดการรับสมัคร

 ลงทะเบียนและส่งบทคัดย่อ (Abstract) ภายในวันที่ 10 พฤษภาคม 2562 
 ประกาศผลการคัดเลือก วันที่ 15 พฤษภาคม 2562
 ยืนยันการเข้าร่วมฯ/ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ภายในวันที่  8 มิถุนายน   2562
 ลงทะเบียนเข้าร่วม (แบบไม่นำเสนอผลงาน) ภายในวันที่ 15 มิถุนายน   2562

                             

                                                             

    

                      

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024  ETDA Banner 2567 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023

 

event banner 

    virtualtour