ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

5 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 ที่ผ่านมา ยาน Parker Solar Probe ได้เข้าไปเฉียดใกล้ดวงอาทิตย์ในระยะห่าง 24 ล้านกิโลเมตรซึ้งใกล้กว่าที่ยานอวกาศทุกลำ ล่าสุดมันก็ได้ติดต่อกลับโลก พร้อมกับคอยส่งข้อมูลต่างๆ กลับมาอย่างต่อเนื่อง

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 8530

Read more ...

หลุมดำมวลยิ่งยวดนั้นเป็นหลุมดำที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ร้อยล้านจนถึงพันล้านเท่า พบได้ที่ใจกลางกาแล็กซีใหญ่ๆแทบทุกกาแล็กซี ปัญหาหนึ่งที่คาใจนักดาราศาสตร์คือ อะไรทำให้หลุมดำมวลยิ่งยวดบางดวงปลดปล่อยลำพลังงานด้วยความเร็วมหาศาลออกมาในรูปเจ็ท ในขณะที่หลุมดำมวลยิ่งยวดบางดวงกลับอยู่นิ่งเงียบ
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4020

Read more ...

สนามแม่เหล็กของโลกเรานั้นเกิดจากแก่นด้านนอกที่เป็นเหล็กหลอมเหลวเกิดการไหลเนื่องจากความร้อนภายในโลก เหล็กนั้นมีอิเล็กตรอนอิสระ ดังนั้นเมื่อเกิดการไหลจึงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า และเมื่อเกิดกระแสไฟฟ้าไหลวนย่อมเกิดการแผ่สนามแม่เหล็กออกมาโดยรอบ โดยที่ขั้วโลกเหนือนั้นเสมือนมีแม่เหล็กขั้วใต้ฝังอยู่ และที่ขั้วโลกใต้นั้นเสมือนมีแม่เหล็กขั้วเหนือฝังอยู่
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2481

Read more ...

6 ปีหลังจากยานวอยเอเจอร์ 1 เดินทางเข้าสู่ที่ว่างระหว่างดวงฤกษ์ ในตอนนี้ยานวอยเอเจอร์ 2 ก็กำลังเดินทางไปถึงสุดขอบของระบบสุริยะแล้วเช่นกัน
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 5225

Read more ...

       เมื่อเราสังเกตความงามของโลกจากสถานีอวกาศนานาชาติ นักบินอวกาศของทีม Expedition 56 บนสถานีอวกาศนานาชาติได้นำภาพถ่ายยามค่ำคืนของเกาะชวาซึ่งเป็นเกาะที่มีประชากรมากที่สุดของอินโดนีเซียมาให้เราได้ยลโฉมกัน เกาะชวาสว่างไสวอย่างมากท่ามกลางความมืดในมหาสมุทรอินเดีย เส้นใยแสงที่เชื่อมโยงไปทั่วทั้งเกาะ และกลุ่มแสงสีเขียวในทะเล สะท้อนให้เห็นว่าเกาะนี้มีเรื่องราวที่น่าสนใจ
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2566

Read more ...

       องค์การบริหารการบินและอวกาศหรือนาซา ส่งดาวเทียมสำรวจธารน้ำแข็ง ICEsat-2 ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันเสาร์ที่ 15 กันยายน 2561 เวลา 17:46  ที่ผ่านมา (ตามเวลาในประเทศไทย) สำหรับภารกิจสำรวจและเก็บข้อมูลปริมาณการละลายของธารน้ำแข็งบนพื้นโลก เพื่อทำนายอัตราการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำในมหาสมุทร ที่มีสาเหตุหลักจากสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4884

Read more ...

       ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นักดาราศาสตร์พยายามหาวิธีอธิบายการเกิดแสงวาบของรังสีแกมมา (Gamma-Rays Bursts; GRBs) เนื่องจากแสงวาบที่เกิดขึ้นมีพลังงานสูงมาก และปลดปล่อยออกมาในช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น จนเมื่อไม่นานมานี้ พวกเขาพบว่าแสงวาบของรังสีแกมมาที่ปลดปล่อยจากหลุมดำ จะปลดปล่อยสัญญาณที่มีลำดับตรงกันข้ามกับตอนแรกอีกครั้ง ราวกับว่าแสงวาบที่เกิดขึ้นเดินทางกลับหน้า-หลังได้ การค้นพบนี้ถูกตีพิมพ์ลงในวารสารดาราศาสตร์ฟิสิกส์ (The Astrophysical Journal) วันที่ 13 สิงหาคม 2561 ที่ผ่านมา
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3678

Read more ...

       วันที่ 18 กันยายน 2561 ที่ผ่านมา (ตามเวลาประเทศไทย) อีลอน มัสก์ ประธานบริหารบริษัท SpaceX ประกาศแผนท่องเที่ยวดวงจันทร์ด้วยจรวดรุ่นใหม่ล่าสุด “บิกฟัลคอน” (BFR)  พามหาเศรษฐีชาวญี่ปุ่นพร้อมศิลปินกลุ่มหนึ่งซึ่งจะเป็นนักท่องเที่ยวกลุ่มแรกที่ได้โคจรรอบดวงจันทร์ ตั้งเป้าเดินทางในปี 2566 

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4361

Read more ...

         การเดินทางไปดาวอังคารนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย นอกจากระยะทางที่ห่างไกลแล้ว อุปสรรคระหว่างทางนั้นก็ยังมีมากมาย ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือรังสีคอสมิกเป็นอันตรายต่อนักบินอวกาศหากได้รับในปริมาณมาก ล่าสุด ข้อมูลที่ได้จากยาน ExoMars TGO นั้นทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถทำการประมาณค่ารังสีที่นักบินอวกาศจะได้รับระหว่างการเดินทางไป-กลับดาวอังคารได้
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4390

Read more ...

        การศึกษาดาวเคราะห์น้อยคู่ชื่อ Patroclus-Menoetiusได้เผยให้เห็นความวุ่นวายและปั่นป่วนของระบบสุริยะในยุคเริ่มต้น โดยดาวเคราะห์น้อยคู่นี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100 กิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของดาวเคราะห์น้อยโทรจันของดาวพฤหัส โดยดาวเคราะห์น้อยโทรจันเหล่านี้จะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในวงโคจรที่ใกล้เคียงกับวงโคจรของดาวพฤหัส 
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 11206

Read more ...

เมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2561 มีการประกาศผลการพิจารณามอบรางวัล Special Breakthrough Prize สาขาฟิสิกส์พื้นฐานแก่ “ศาสตราจารย์ท่านผู้หญิง โจเซลิน เบลล์ เบอร์แนลล์” แห่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และมหาวิทยาลัยดันดี สหราชอาณาจักร ในฐานะที่เธอมีส่วนร่วมสำคัญอย่างยิ่งในการค้นพบพัลซาร์ รวมถึงเป็นผู้นำที่สร้างแรงบันดาลใจต่อวงการวิทยาศาสตร์โลกในช่วงห้าทศวรรษที่ผ่านมา 
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2127

Read more ...

ในปี ค.ศ. 1670 นักดาราศาสตร์ยุคโบราณได้บันทึกการปรากฏขึ้นของดาวใหม่สีแดงบนท้องฟ้าทางกลุ่มดาวสุนัขจิ้งจอก นักดาราศาสตร์สมัยใหม่เรียกวัตถุดังกล่าวว่า Ck vulpeculae และเมื่อศึกษาดูก็พบว่ามันคือ การระเบิดของดาวฤกษ์มวลไม่มากที่เรียกว่า โนวา  แต่มันไม่ใช่โนวาทั่วๆไป
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3132

Read more ...

Page 15 of 16