ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) ประกาศกำหนดการปล่อยจรวดเพื่อส่ง “Mars 2020 Rover” หรือ “เพอร์เซเวียแรนส์ (Perseverance)” มุ่งหน้าสู่ดาวอังคาร ในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2563  เวลา 20:15 น. ตามเวลาประเทศไทย  

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3335

Read more ...

ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันมีหลายดินแดนที่พยายามส่งยานไปสำรวจดาวอังคาร ได้แก่ รัสเซีย สหรัฐฯ ยุโรป อินเดีย จีน และญี่ปุ่น แต่ยังมีชาติเอเชียชาติอื่นที่จะส่งยานหุ่นยนต์ไปสำรวจดาวอังคารในอนาคตอันใกล้ นั่นคือ “สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์” ชาติอาหรับจากภูมิภาคตะวันออกกลาง

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3292

Read more ...

นักวิทยาศาสตร์ค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเบื้องต้นด้วยระบบอัตโนมัติจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ โดยวิธีการเคลื่อนที่ผ่านหน้า (Transit Method) ซึ่งเป็นวิธีวัดแสงที่ลดลงของดาวฤกษ์แม่เมื่อมีดาวเคราะห์ผ่านหน้า แต่เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าการตรวจหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์จะถูกต้อง? ทีมงาน “Kepler False Positive Working Group” ได้ช่วยกันแก้ไขข้อผิดพลาดที่อาจจะทำให้ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะบางดวงตกหล่นจากการตรวจหา

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4174

Read more ...

31 พฤษภาคม พ.ศ.2563 เวลา 2:22 น. (ตามเวลาประเทศไทย) จรวดฟัลคอน 9 ในภารกิจ Demo-2 ถูกปล่อยออกจากฐานปล่อยจรวด ณ ศูนย์อวกาศเคนเนดี รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา เพื่อส่งนักบินอวกาศชาวสหรัฐฯ 2 คน ได้แก่ โรเบิร์ต เบห์นเคิน และดักลาส เฮอร์ลีย์ ขึ้นสู่สถานีอวกาศนานาชาติ นับเป็นการส่งมนุษย์ขึ้นสู่อวกาศจากแผ่นดินสหรัฐอเมริกาได้สำเร็จเป็นครั้งแรกในรอบ 9 ปี และยังเป็นครั้งแรกที่ส่งมนุษย์ขึ้นสู่อวกาศด้วยจรวดของบริษัทเอกชน

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4010

Read more ...

แอนาเล็มมา คือ รูปร่างที่โค้งเป็นเลข 8 ได้มาจากการถ่ายภาพตำแหน่งดวงอาทิตย์บนท้องฟ้า ที่เวลาเดียวกันในแต่ละวัน ตลอดระยะเวลา 1 ปี  เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี และมีแกนหมุนรอบตัวเองที่เอียง ดวงอาทิตย์จึงมีตำแหน่งปรากฏเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 8230

Read more ...

หากยังจำกันได้ เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2562 เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์อีเวนต์ฮอไรซัน (Event Horizon Telescope : EHT) บันทึกภาพหลุมดำได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ด้วยเทคนิคการแทรกสอดระยะไกล (very-long baseline interferometry : VLBI) การศึกษาด้วยวิธีนี้จะใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุหลายแห่งที่กระจายอยู่ทั่วโลกทำงานร่วมกัน จนมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับกล้องที่มีขนาดใหญ่เท่ากับขนาดของโลกทั้งใบ ทำให้ข้อมูลที่ได้มีความละเอียดสูงมาก

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3270

Read more ...

ข้อมูลจากยานแคสสินี (Cassini) ช่วยให้นักดาราศาสตร์ไขปริศนาความร้อนในชั้นบรรยากาศของดาวเสาร์และดาวเคราะห์แก๊สดวงอื่น

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2468

Read more ...

ดวงตาของมนุษย์สามารถมองเห็นเพียงช่วงเล็ก ๆ ของรังสีที่วัตถุรอบตัวเราปล่อยออกมา เราเรียกรังสีส่วนนี้ว่าแสงที่มนุษย์มองเห็นได้

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4103

Read more ...

ดวงอาทิตย์มีการเปลี่ยนแปลงตามวิวัฒนาการตลอดช่วงอายุ และมีจุดจบคือกลายเป็น “ดาวแคระขาว”  ซึ่งเป็นจุดจบแบบเดียวกันกับดาวฤกษ์เกือบ 97 เปอร์เซ็นต์ในกาแล็กซีทางช้างเผือก ล่าสุดมีการค้นพบใหม่ที่อาจเติมเต็มชะตากรรมสุดท้ายของดวงอาทิตย์ได้

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 8349

Read more ...

ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 นักดาราศาสตร์สามารถยืนยันได้แล้วว่ามีน้ำแข็งในหลุมอุกกาบาตที่ขั้วดาวพุธ จากผลการสำรวจของยานอวกาศเมสเซนเจอร์ (MESSENGER) แต่ยังไม่มีนักดาราศาสตร์คนใดทราบสาเหตุการเกิดน้ำแข็งบนดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และมีอุณหภูมิพื้นผิวสูงสุดถึง 400 องศาเซลเซียส

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 11822

Read more ...

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา (NASA) เผยโครงการที่ได้รับคัดเลือกสำหรับภารกิจศึกษาการระเบิดในอวกาศ รวมถึงศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่ถูกแผ่รังสีจากดาวฤกษ์แม่

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4656

Read more ...

ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่อยู่ห่างจากโลกออกไป 30 ปีแสง ด้วยการตรวจหาคลื่นวิทยุที่ปลดปล่อยออกมาจากดาวเคราะห์ซึ่งเกิดจากกระบวนการคล้ายกับแสงออโรราบนโลก อาจกลายเป็นเครื่องมือชิ้นใหม่ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4094

Read more ...

นาซาเผยโครงการยักษ์ใหญ่เปลี่ยนหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ให้กลายเป็นจานรับสัญญาณขนาด 1 กิโลเมตร! ครบรอบ 50 ปี “ความล้มเหลวที่ประสบความสำเร็จ” ของอะพอลโล 13 เกาะติดดาวหาง C/2019 Y4 (Atlas) อาจไม่สว่างอย่างที่คาดไว้ ล่าสุดแตกออกเป็นเสี่ยงๆ ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะคล้ายโลกทั้งขนาดและอุณหภูมิ นาซาเตรียมรับมืออย่างไรเพื่อไม่ให้โรค COVID-19 หลุดไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ แผนที่ดาวเคราะห์น้อยเบนนูแบบ 3D จากยาน OSIRIS-REx แผนที่ดวงจันทร์ความละเอียดสูงจากยาน “จันทรยาน 2” เราคงต้องทิ้งเธอไว้กลางทาง (ชั่วคราว) วอยเอเจอร์ 2 ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะขนาดใหญ่อาจมีเงื่อนไขเหมาะสมต่อการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ยานอวกาศ OSIRIS-Rex ของนาซา พบอนุภาคถูกปล่อยออกจากดาวเคราะห์น้อยเบ็นนู (Bennu)
Page 9 of 16