ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

ทุกวันนี้ไม่มีใครไม่รู้จักกับไวรัสโคโรนา แต่ทราบไหมว่าแท้จริงแล้วที่มาของชื่อนั้น มาจากชั้นโคโรนาของดวงอาทิตย์ เมื่อมองไวรัสผ่านกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่ามีลักษณะคล้ายกับบรรยากาศชั้นโคโรนาของดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นชั้นบรรยากาศนอกสุดของดวงอาทิตย์ ลักษณะปุ่มยื่นออกมาของไวรัส (viral spike (S) peplomers) เป็นโปรตีนที่กระจุกตัวอยู่บนผิวไวรัส ทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดการตอบสนองของโฮสต์ (host tropism) ซึ่งคำว่า“corona” ในภาษาละติน แปลว่า “มงกุฎ” หรือ “รัศมี” นั่นเอง

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 15594

Read more ...

26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563  สถาบันวิทยาศาสตร์จีน (Chinese Academy of Sciences ; CAS) รายงานผลการศึกษาล่าสุดของยานฉางเอ๋อ 4  พบว่าใต้พื้นผิวที่ยานลงจอดมีลักษณะแบ่งเป็นชั้นหินขรุขระและชั้นดินละเอียด บ่งชี้ถึงการพุ่งชนที่รุนแรงในอดีต

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4974

Read more ...

จะเกิดอะไรขึ้นหากฝนที่ตกลงมาไม่ใช่หยดน้ำฝนแต่กลายเป็นหยดของโลหะเหล็ก ฟังดูแล้วอาจเป็นเรื่องประหลาดหรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในหนังไซไฟสักเรื่องหนึ่ง แต่สิ่งนี้เกิดขึ้นจริงบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-76b 

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 5878

Read more ...

ในวันที่ 6  มีนาคม พ.ศ. 2563 องค์การนาซาแถลงชื่ออย่างเป็นทางการของยาน “Mars 2020 Rover” คือ “เพอร์เซเวียแรนส์” พร้อมที่จะส่งไปสำรวจดาวอังคารกลางปีนี้

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 6109

Read more ...

นาซาเผยแพร่ภาพถ่ายจากยานคิวริออซิตี  นับเป็นภาพถ่ายพาโนรามาที่คมชัดที่สุดจากดาวอังคารที่บริเวณ “Glen Torridon”  โดยยานใช้เวลาถ่ายภาพนี้ตั้งแต่วันที่ 24 พฤศจิกายน 2562 จนถึง 1 ธันวาคม 2562 นับเป็นภาพถ่ายรวมกันทั้งสิ้นมากกว่า 1,000 ภาพ

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 7128

Read more ...

3 มีนาคม พ.ศ. 2563 นาซาอนุมัติโครงการกล้องโทรทรรศน์อวกาศ “WFIRST” เตรียมเริ่มพัฒนาและทดสอบฮาร์ดแวร์ที่ใช้ในการปฏิบัติภารกิจศึกษาเอกภพ

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 5003

Read more ...

เมื่อ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา นาซาประสบความสำเร็จในการทดสอบระบบจรวดฉุกเฉินที่จะใช้ในโครงการสำรวจดวงจันทร์อาร์ทิมิส

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3288

Read more ...

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 มีงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสาร Nature Astronomy เรื่องความคืบหน้าการสำรวจปริมาณน้ำในชั้นบรรยากาศของดาวพฤหัสบดีจากยานอวกาศจูโน (Juno) พบว่ามีปริมาณน้ำมากถึง 0.25 % ของโมเลกุลในชั้นบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2755

Read more ...

หลุมดำเป็นวัตถุท้องฟ้าที่มีแรงโน้มถ่วงสูงมาก เมื่อสสารใด ๆ เข้าใกล้หลุมดำมากพอ สสารจะตกลงในจานรวมมวล (Accretion Disk) ที่หมุนวนอย่างรุนแรง แต่จะมีอนุภาคบางส่วนที่ถูกเหวี่ยงออกไปตามแนวสนามแม่เหล็กในรูปแบบของลำอนุภาคพลังงานสูง เรียกว่า “เจ็ท”  (Jet) ซึ่งภายในเจ็ทจะมีกลุ่มก้อนอนุภาคกระจายอยู่แบบไม่ต่อเนื่องกัน

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 8391

Read more ...

ในปี พ.ศ. 2567 นาซามีโครงการที่จะส่งมนุษย์กลับขึ้นไปดวงจันทร์อีกครั้งก่อนที่จะส่งมนุษย์ไปยังดาวอังคารเป็นลำดับต่อไป แต่ยังไม่แน่ชัดว่าจะไปตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณใดบนดาวอังคารกันแน่ จนล่าสุด มีงานวิจัยตีพิมพ์ใน Geophysical Research Letters สามารถทำแผนที่การกระจายตัวของน้ำแข็งที่ระดับความลึก 2.5 เซนติเมตรภายใต้พื้นผิวดาวอังคารได้ จะเป็นข้อพิจารณาที่สำคัญในการเลือกตำแหน่งที่จะส่งมนุษย์ไปยังดาวอังคารในอนาคต

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4446

Read more ...

ลูซีล เทิร์ก (Lucile Turc) อดีตนักวิจัยจากองค์การอวกาศยุโรป (European Space Agency: ESA) และทีมวิจัย พบท่วงทำนองคล้ายบทเพลง หลังจากนำข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับจากภารกิจคลัสเตอร์ (Cluster) กลับมาวิเคราะห์ใหม่อีกครั้ง

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3726

Read more ...

24 พฤศจิกายน 2563 เวลาประมาณ 16:35 น. ตามเวลาท้องถิ่นตะวันออกของสหรัฐฯ เครื่องบินบรรทุกซูเปอร์กัปปี (Super Guppy) ขนส่งยาน MPCV (Orion Multi-Purpose Crew Vehicle) ยานบรรทุกนักบินอวกาศอเนกประสงค์ของยานอวกาศโอไรออน จากศูนย์อวกาศเคนเนดี (Kennedy Space Center) ไปยัง สนามบินแมนส์ฟิลด์ ลาห์ม (Mansfield Lahm) รัฐโอไฮโอ มีประชาชนเกือบ 1,500 คน มารอต้อนรับ

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4350

Read more ...

2020 AV2 ดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่มีโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวศุกร์ LIGO ยืนยันตรวจพบคลื่นความโน้มถ่วงจากดาวนิวตรอนชนกัน ดาวเทียมเทสส์เปิดมุมมองซีกฟ้าใต้ นักวิทยาศาสตร์พบหลักฐานว่าดาวศุกร์อาจมีภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ ครั้งแรกในประวัติศาสตร์กับการศึกษา “พัลซาร์” ที่แม่นยำมากที่สุด พบซากยาน “วิกรม” ของอินเดียบนดวงจันทร์แล้ว เมื่อนักถ่ายภาพจากทุกมุมโลกมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์การผลิตภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ ดาวเทียมเทสส์อาจช่วยให้เราพบดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ของระบบสุริยะ! แสงเหนือที่นอร์เวย์ พบโมเลกุลน้ำตาล “ไรโบส” ในอุกกาบาตเป็นครั้งแรก อาจเป็นต้นกำเนิดของสิ่งมีชีวิตบนโลก
Page 11 of 16